- อรพินท์ คำสอน
- 885 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การพัฒนางานทัศนศิลป์ร่วมสมัยสู่ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมวัฒนธรรม: กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์ |
เจ้าของผลงานร่วม | - |
คำสำคัญ | ทัศนศิลป์;อุตสาหกรรมวัฒนธรรม;ผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ |
หน่วยงาน | สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การศึกษาเพื่อส่งเสริม และสร้างศักยภาพการแข่งขันด้านผลิตภัณฑ์ ไลฟ์สไตล์ พบว่า 1) ผลิตภัณฑ์สินค้าไทยมีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์เฉพาะ แต่ต้องได้รับการส่งเสริมกระบวนการผลิตที่ต้องอาศัยงานศิลปะเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างสรรค์ผลงาน การได้เปรียบในเรื่องของต้นทุนพัฒนา ด้านแรงงานที่มีทักษะความชำนาญ ความละเอียดอ่อน และมีความประณีต รูปแบบของผลิตภัณฑ์สินค้า เน้นความทันสมัยของยุคปัจจุบันผสมผสานกับความสวยงาม 2) ช่องทางจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าส่วนใหญ่เป็น ร้านจำหน่ายสินค้าเครื่องตกแต่งบ้าน ร้านจำหน่ายสินค้าในสถานที่ท่องเที่ยว สินค้าที่ผลิตจำหน่ายมากที่สุดเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าช่วงเทศกาล เช่น ของตกแต่งบ้าน เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร 3) รูปแบบเส้นทางการส่งเสริมและพัฒนาทางด้านการตลาดในอุตสาหกรรมไลฟ์สไตล์ คือ ความสามารถในการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบ สินค้า บริการ สื่อ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การสร้างช่องทางการขาย การสร้างตราสินค้า และสื่อสารภาพลักษณ์ และการสร้างร้านค้าในต่างประเทศ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://ocac.go.th/wp-content/uploads/2019/04/ดร.ศุภกรณ์-ดิษฐพันธุ์.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
การพัฒนางานทัศนศิลป์ร่วมสมัยสู่ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมวัฒนธรรม: กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.