- นพดล นาบุญพัฒนา
- 438 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | แนวโน้มการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทยและประเทศพม่า |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | โชติ เนืองนันท์ |
เจ้าของผลงานร่วม | นิคม ผึ่งคำ , สมยศ ศรีคงรักษ์ , ดวงกมล มามีชัย , พลรัตน์ ทองเพิ่ม , วิฑูรย์ หนูเล็ก |
คำสำคัญ | แผ่นดินไหว;รอยเลื่อน |
หน่วยงาน | ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี จันทบุรี |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การศึกษาแนวโน้มการเกิดแผนดินไหวในประเทศไทยและประเทศพม่า ผลการวิจัยพบว่า การเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทยและประเทศพม่ามีอัตราเพิ่มขึ้น ในด้านความแรงของการเกิดแผ่นดินไหว ประเทศพม่ามีความแรงของการเกิดแผ่นดินไหวสูงกว่าประเทศไทย โดยประเทศพม่ามีความแรงของแผ่นดินไหวอยู่ในระดับ 6.0- 7.0 ริกเตอร์ขึ้นไปและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้น ส่วนประเทศไทยโดยเฉลี่ยแล้วแนวโน้มความแรงของการเกิดแผ่นดินไหวอยู่ในระดับ 4.0 – 4.9 ริกเตอร์ บริเวณที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่มีรอยเลื่อนมีพลังพาดผ่าน ได้แก่ บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาตใต้ของประเทศไทย |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/tsujournal/article/view/151784/110923 |
สาขาการวิจัย |
|
แนวโน้มการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทยและประเทศพม่า is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.