PERFORMANCE EVALUATION OF AERMOD AND CALPUFF AIR DISPERSION MODELS IN MAPTAPHUT INDUSTRIAL AREA
- นายณัฐวุฒิ จิตรา
- 1001 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | มูลวัวมีค่า นำมาผลิตก๊าซชีวภาพ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ดร.เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง |
คำสำคัญ | ก๊าซชีวภาพจากมูลวัว |
หน่วยงาน | บริษัท ว๊อชด็อก จำกัด |
ปีที่เผยแพร่ | 2559 |
คำอธิบาย | เทคโนโลยีก๊าซชีวภาพ เป็นเทคโนโลยี ที่อาศัยหลักการย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยวิธีชีวภาพแบบไม่ใช้อากาศ (Anaerobic Digestion) โดยสร้างสภาวะให้แบคทีเรียที่มีอยู่ในธรรมชาติ ย่อยสลายสารอินทรีย์ ที่มีอยู่ในน้ำเสียในสภาพไร้ออกซิเจน ผลที่ได้จากการหมักย่อย คือส่วนผสมของก๊าซชีวภาพที่ติดไฟได้ ซึ่งมีก๊าซมีเทน (Methane) เป็นองค์ประกอบหลักอยู่ประมาณ 70% ก๊าซชีวภาพที่ได้นี้ สามารถนำไปใช้ในการหุงต้ม ตลอดจนใช้กับเครื่องต้มน้ำร้อน และเครื่องอบแห้งเชิงอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี การใช้ก๊าซชีวภาพเน้นให้ใช้ประโยชน์ ทางด้านการผลิตความร้อนโดยตรงมากที่สุด เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพเชิงความร้อนของระบบการใช้ประโยชน์ และหากมีปริมาณมากเกินพอ ก็สามารถนำไปใช้เดินเครื่องยนต์ เพื่อผลิตไฟฟ้าต่อไป |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://www.youtube.com/watch?v=Io1RXVpkTjw |
สาขาการวิจัย |
|
มูลวัวมีค่า นำมาผลิตก๊าซชีวภาพ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.