ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้เส้นใยอิเล็กโตรสปันพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอทจาก Novosphingobium sp. THA_AIK7เป็นวัสดุปิดแผล |
---|---|
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง ภาษาอังกฤษ | Feasibility Study of Using Electrospun Polyhydroxyalkanoates from Novosphingobium sp. THA_AIK7 as Wound Dressing Material |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | จันทิมา ฑีฆะ อัษฎาวุธ อารีสิริสุข และมาโนช โพธิ์สูง |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ภาษาอังกฤษ | Jantima Teeka Atsadawut Areesirisuk and Manoch Posung |
คำสำคัญ | PHA/PVDF, Electrospinning, Wound Dressing Material |
หน่วยงาน | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข |
ปีที่เผยแพร่ | 2565 |
คำอธิบาย | โครงการวิจัยนี้ ทำการศึกษาการขึ้นรูปเส้นใยผสม PHA/PVDF ด้วยการปั่นเส้นใยด้วยกระแสไฟฟ้า และทดสอบคุณสมบัติด้านกายภาพ ด้านความร้อน และด้านชีวภาพ พบว่า เส้นใยผสมนาโนที่ขึ้นรูปได้ มีลักษณะปุ่มปม เป็นแผ่น เส้นใยมีขนาดและมีลักษณะการกระจายตัวไม่สม่ำเสมอ มีค่าความทนต่อแรงดึงและความยืดหยุ่นดีขึ้น เส้นใยมีความไม่ชอบน้ำสูง ทนต่ออุณหภูมิสูง สามารถเข้ากันได้ดีกับเซลล์สัตว์ 3 ชนิด ได้แก่ Vero MDCK และ L-929 เส้นใยผสม PHA/PVDF ควรมีการวิจัยพัฒนาความเข้ากันได้ของ PHA และ PVDF เพื่อให้ได้เส้นใยที่มีความสม่ำเสมอ ไม่เป็นปุ่มปมและก้อนบนเส้นใย เพิ่มคุณสมบัติความชอบน้ำ และเพิ่มคุณสมบัติการต้านเชื้อแบคทีเรีย ในขั้นตอนต่อไป |
กลุ่มการนำไปใช้ประโยชน์ | ด้านวิชาการ |
สาขาการวิจัย |
|
การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้เส้นใยอิเล็กโตรสปันพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอทจาก Novosphingobium sp. THA_AIK7เป็นวัสดุปิดแผล is licensed under a Creative Commons Attribution-NoDerivatives 3.0 Thailand License.