ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง การถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ถ่านชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อใช้ในครัวเรือนและการแก้ปัญหาการผลิตพืชในพื้นที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง ภาษาอังกฤษ Transferring technology of using of biochar from agricultural wastes to use for household and solving crop production problem in Northeast salinity soil
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง เสาวคนธ์ เหมวงษ์
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ภาษาอังกฤษ Dr.Saowakon Hemwong
เจ้าของผลงานร่วม ชัชวาล แสงฤทธิ์ , ภากร พันธุพาน , นิสากร ศรีธัญรัตน์
คำสำคัญ ถ่านชีวภาพ;ดินเค็ม;ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ;การผลิตพืช;ครัวเรือน
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยนครพนม
ปีที่เผยแพร่ 2566
คำอธิบาย ปัญหาดินเค็มจังหวัดนครราชสีมาส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช และการพัฒนา การให้ความรู้เกี่ยวกับถ่านชีวภาพทั้ง 5 องค์ความรู้ พบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก การใช้ประโยชน์ 100 % ส่วนใหญ่นำไปใช้หลังทันที และใช้ในครัวเรือน และช่วยเพิ่มรายได้เสริม ช่วยลดรายจ่าย 1,000 บาทต่อเดือน โดยเฉพาะด้านเชื้อเพลิงหุงต้ม และปุ๋ย ใช้ปรับปรุงดินและเพาะปลูกพืชผักในพื้นที่ดินเค็มทำให้เพิ่มผลผลิตไม่น้อยกว่า 20 % และช่วยลดผลกระทบความเค็มของดินจากการใช้ถ่านชีวภาพได้ และผลิตนักถ่ายทอดได้ไม่ต่ำกว่า 25 คน
กลุ่มการนำไปใช้ประโยชน์ ด้านสังคม/ชุมชน
สาขาการวิจัย
  • เกษตรศาสตร์

ภาพที่เกี่ยวข้อง

เอกสารเพิ่มเติม

เรื่องที่เกี่ยวข้อง