ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง กลไกการต้านทานเดลต้าเมทรินในประชากรยุงรำคาญ Culex quinquefasciatus ในประเทศไทย
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง ภาษาอังกฤษ Deltamethrin Resistance Mechanisms in Culex quinquefasciatus Populations in Thailand
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง เสาวนีย์ ชำนาญยา
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ภาษาอังกฤษ Saowanee Chamnanya
เจ้าของผลงานร่วม ผศ.ดร. จินตนา ยาโนละ , ผศ.ดร. วุฒิชัย นาชัยเวียง , ดร.นงคราญ ลำจวน , Dr. Catherine Walton , รศ.ดร. ปรัชญา สมบูรณ์
คำสำคัญ Culex quinquefasciatus;Filariasis;Pyrethroid resistance;Voltage-gated sodium channel;Kdr mutation;Resistant haplotype network
หน่วยงาน ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปีที่เผยแพร่ 2566
คำอธิบาย Yanola et al., 2015) ซึ่งกลไกที่ก่อให้เกิดการต้านทานต่อไพรีทรอยด์ประกอบด้วย 2 กลไกหลัก ได้แก่ กลไกการสูญเสียความไวต่อสารเคมีฆ่าแมลงของอวัยวะเป้าหมาย (target site insensitivity) และกลไกการเพิ่มการขจัดสารพิษ โดยกระบวนการเมตาบอลิซึม (metabolic resistance) ซึ่งเอนไซม์ cytochrome P450 monooxygenases เป็นเอนไซม์หนึ่งที่มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการต้านทานไพรีทรอยด์ โดยการแสดงออกที่เพิ่มสูงขึ้น (overexpression) ของยีน cytochrome P450s ส่งผลให้เกิดการเพิ่มขึ้นของระดับเอนไซม์กลุ่ม P450s และการเพิ่มขึ้นของการทำงานของเอนไซม์ดังกล่าวเป็นผลให้เกิดการต้านทานต่อสารเคมีฆ่าแมลงขึ้น (David et al., 2013)
ข้อมูลเพิ่มเติม https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S0048357522001390
กลุ่มการนำไปใช้ประโยชน์ ด้านวิชาการ
สาขาการวิจัย
  • วิทยาศาสตร์การแพทย์และสุขภาพ

ภาพที่เกี่ยวข้อง

เอกสารเพิ่มเติม

เรื่องที่เกี่ยวข้อง