- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กชศร หัสโรค์
- 525 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | วิธีการผลิตน้ำเชื้อปลาเผาะ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | สมร พรชื่นชูวงศ์ |
เจ้าของผลงานร่วม | อรรณพ อิ่มศิลป์ , สมบัติ สิงห์สี |
คำสำคัญ | ปลาสวายโมง;ปลาสวาย;น้ำเชื้อปลาเผาะ;ปลาเผาะ |
หน่วยงาน | สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี |
ปีที่เผยแพร่ | 2559 |
คำอธิบาย | การเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาโมง (ปลาเผาะ) โดยวิธีแช่แข็ง เนื่องจากปลาโมงมีช่วงเจริญพันธุ์ไม่ตรงกันคือ เพศผู้จะเจริญพันธุ์ในเดือน มี.ค.-เม.ย. ขณะที่เพศเมียจะเจริญพันธุ์ในเดือนพ.ค. ดังนั้นการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาโดยวิธีแช่แข็งน่าจะเป็นทางเลือกหนึ่ง งานวิจัยศึกษาสาร extender และ cryoprotectant และหาวิธีลดอุณหภูมิที่เหมาะสมในการแช่แข็งเพื่อนำไปผสมกับแม่พันธุ์ปลาสวายต่อไป งานวิจัยอีกชิ้นคือ ประดิษฐ์ปลาลูกผสมโดยใช้น้ำเชื้อปลาโมงแช่แข็งผสมกับไข่ปลาสวายซึ่งมีความดกกว่าปลาโมง 6 เท่า ลูกผสมที่ได้ ปลาสวายโมงจะได้ข้อดีจากพ่อ (ปลาโมง) คือ มีเนื้อสีขาว ซึ่งเป็นต้องการของตลาด สรุปได้ว่า การใช้น้ำเชื้อแช่แข็งมีผลการปฏิสนธิหรือผลการผสมติดไม่มีความแตกต่างจากการใช้น้ำเชื้อสด |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/3410/2/SUT+3-303-50-24-12.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
วิธีการผลิตน้ำเชื้อปลาเผาะ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.