ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การกลับมารักษาซ้ำโดยไม่ได้นัดหมายในห้องฉุกเฉินของผู้ป่วยที่มีกลุ่มอาการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย: การวิเคราะห์สถานการณ์ |
---|---|
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง ภาษาอังกฤษ | UNPLANNED RE–ATTENDANCE TO EMERGENCY DEPARTMENT OF PATIENTS WITH SYSTEMIC INFLAMMATORY RESPONSE SYNDROME (SIRS): A SITUATIONAL |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | นายศิวพล ศรีแก้ว |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ภาษาอังกฤษ | Mr. Siwapon Srikeaw |
เจ้าของผลงานร่วม | รศ.ดร.เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์ , รศ.ดร.วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์ , ศ.ดร.ศิริอร สินธุ , ศ.ดร.ชูเกียรติ วิวัฒน์วงศ์เกษม , ผศ.ดร.ฐิติพงศ์ ตันคำปวน |
คำสำคัญ | การกลับมารักษาซ้ำแบบไม่ได้นัดหมาย;ห้องฉุกเฉิน;ผู้ป่วยที่มีกลุ่มอาการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย;การวิเคราะห์สถานการณ์ |
หน่วยงาน | วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก |
ปีที่เผยแพร่ | 2568 |
คำอธิบาย | ผู้ป่วยที่มีกลุ่มอาการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย พบได้บ่อยในห้องฉุกเฉิน และเป็นกลุ่มที่มีโอกาสกลับมารับการรักษาซ้ำด้วยอาการที่รุนแรงมากขึ้น เช่น ภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต อุบัติการณ์ของการกลับมารักษาซ้ำภายใน 30 วันหลังจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉิน เท่ากับ ร้อยละ 16 หรือในผู้ป่วยจำนวน 1,000 คนที่มารับบริการในห้องฉุกเฉิน จะมีผู้ป่วยจำนวน 6 คน กลับมารักษาซ้ำ ผู้ป่วยที่ไปรับบริการในห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลระดับชุมชนขนาดใหญ่ มีอุบัติการณ์ของการกลับมารักษาซ้ำมากว่าโรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก ปัจจัยด้านโรคร่วมที่มีผลต่อการกลับมารักษาซ้ำ ถึง 5 เท่า การดื่มสุรา 6 เท่า ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลในห้องฉุกเฉินและจำหน่าย 11 เท่า และดูแลในห้องฉุกเฉิน ได้รับการสังเกตอาการและจำหน่าย 13 เท่า |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://rdcu.be/d9oyD |
กลุ่มการนำไปใช้ประโยชน์ | ด้านวิชาการ |
สาขาการวิจัย |
|
การกลับมารักษาซ้ำโดยไม่ได้นัดหมายในห้องฉุกเฉินของผู้ป่วยที่มีกลุ่มอาการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย: การวิเคราะห์สถานการณ์ is licensed under a Creative Commons Attribution 3.0 Thailand License.