- Piangpetch Tanngoen
- 828 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | กินดีอยู่ดี รู้ทันป้องกันโรคกระดูกพรุน |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ |
คำสำคัญ | โรคกระดูกพรุน |
หน่วยงาน | กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข |
ปีที่เผยแพร่ | 2560 |
คำอธิบาย | โรคกระดูกพรุน ได้ชื่อว่าเป็น “มฤตยูเงียบ” เนื่องจากส่วนใหญ่ไม่มีอาการ กว่าจะรู้ว่าเป็นโรคกระดูกพรุนก็ต่อเมื่อกระดูกหักเสียแล้วส่วนอาการที่พบได้คือปวดหลัง ซึ่งเกิดจากกระดูกบางมาเป็นเวลานาน อาการปวดจะรุนแรงมากขึ้นเมื่อมีกระดูกสันหลังยุบตัว และจะทำให้หลังค่อมและเตี้ยลงได้ นอกจากกระดูกสันหลังแล้ว กระดูกอื่น ๆ ที่ถูกทำลายมาก คือ ข้อมือและสะโพก แม้โรคกระดูกพรุนเป็นโรคที่พบได้กับทุกเพศทุกวัย และพบมากขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้น แต่ถ้าเรารู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคกระดูกพรุน จะช่วยให้เราสามารถหลีกเลี่ยงหรือแก้ไขได้ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และช่วยป้องกันการเกิดหรือลดความรุนแรงของโรคกระดูกพรุนได้ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://www.youtube.com/watch?v=4lDoADc1EgA |
สาขาการวิจัย |
|
กินดีอยู่ดี รู้ทันป้องกันโรคกระดูกพรุน is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.