- โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
- 474 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การหมักย่อยร่วมของมูลสุกรกับพืชน้ำเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตก๊าซชีวภาพ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | สุนัดดา ไชยสิทธิ์ |
เจ้าของผลงานร่วม | อ.ดร.วนิดา สืบสายพรหม , อ.ดร.จำเนียร ชมภู |
คำสำคัญ | ก๊าซชีวภาพ;การหมักย่อยร่วม;มูลสุกร;พืชน้ำ |
หน่วยงาน | ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน |
ปีที่เผยแพร่ | 2560 |
คำอธิบาย | สาหร่ายหางกระรอก สาหร่ายพุงชะโด จอก และแหนแดง มีความเป็นไปได้ที่จะนำมาหมักย่อยร่วมกับมูลสุกรเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ ที่อัตราส่วนของมูลสุกรต่อพืช 3.75: 1.25 %TSInfluent ในกรณีที่มูลสุกรไม่เพียงพอต่อระบบการผลิตก๊าซชีวภาพ สามารถใช้พืชน้ำเหล่านี้ทดแทนมูลสุกรตามอัตราส่วนข้างต้นได้ โดยการหมักย่อยร่วมของมูลสุกรกับสาหร่ายหางกระรอก สาหร่ายพุงชะโด จอก และแหนแดง สามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้ 1.36, 1.40, 1.30 และ 1.28 ลิตร/วัน ตามลำดับ และก๊าซมีเทนเฉลี่ย 51.04, 46.94, 46.01 และ 49.97% ตามลำดับ ซึ่งมีค่าแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเทียบกับการหมักมูลสุกรเพียงวัตถุดิบเดียว |
สาขาการวิจัย |
|
การหมักย่อยร่วมของมูลสุกรกับพืชน้ำเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตก๊าซชีวภาพ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.