- สำนักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
- 949 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | ผลของตัวแปรเสริมสำหรับเมฆพาความร้อนในการจำลองฝนจากอิทธิพลของพายุไหหม่าในพื้นที่เขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ผกาวรรณ รัตน์น้หิน |
คำสำคัญ | WRF, ฝน, ตัวแปรเสริมเมฆพาความร้อน, ภาคเหนือตอนบน, ความละเอียดกริด |
หน่วยงาน | วิทยาลัยพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยพะเยา |
ปีที่เผยแพร่ | 2560 |
คำอธิบาย | การศึกษาผลของตัวแปรเสริมเมฆพาความร้อนที่ความละเอียดกริดสูงสำหรับการจำลองฝนตกหนักในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยโดยใช้แบบจำลอง Weather Research and Forecasting (WRF 3.4) จำลองฝนที่ความละเอียดกริด 27, 9, 3 และ 1 กิโลเมตร ผลการศึกษาพบว่าตัวแปรเสริม NSAS(HWRF) ให้ผลการจำลองฝนดีกว่าตัวแปรอื่นในช่วงฝนตกหนักในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบนที่ความละเอียด 27, 9 และ 3 กิโลเมตร ในขณะที่การจำลองความละเอียดสูงที่ 1 กิโลเมตร พบว่า NSAS(HWRF) G3D และ NOCPs ให้ผลการจำลองฝนดีที่สุดใกล้เคียงกัน |
สาขาการวิจัย |
|
ผลของตัวแปรเสริมสำหรับเมฆพาความร้อนในการจำลองฝนจากอิทธิพลของพายุไหหม่าในพื้นที่เขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.