ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง การใช้เชื้อแอคติโนมัยซีทเพื่อฟื้นฟูและยับยั้งการระบาดของไส้เดือนฝอยรากปมในดินและการตรวจติดตามประสิทธิภาพของเชื้อแอคติโนมัยซีทที่ใส่ลงในดิน
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ผศ.ดร.พงศ์ระวี นิ่มน้อย
เจ้าของผลงานร่วม นางสาวพรทิพย์ เรือนปานันท์
คำสำคัญ แอคติโนมัยซีท (actinomycetes);ไส้เดือนฝอยรากปม (root- knot nematode);ดินแพร่ระบาดไส้เดือนฝอยรากปม (root- knot nematode infested soil);แอคติโนมัยซีทควบคุมไส้เดือนฝอย (antinematodal actinomycetes);การฟื้นฟูดิน (soil remediation);Denaturing Gradient Gel Electrophoresis (DGGE);Reverse Transcription (RT)
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปีที่เผยแพร่ 2560
คำอธิบาย ลักษณะของตัวอ่อนระยะที่ 2 (J2) ในเซลล์รากพืช (D) 11 คำอธิบาย 5 บรรทัด (font Tohoma ขนาด 10 แบบ Regular) พบเชื้อแอคติโนมัยซีทที่มีประสิทธิภาพในการใช้เพื่อลดการระบาดของไส้เดือนฝอย (M. incognita) ได้ดีที่สุดจำนวน 2 สายพันธุ์คือ S. jietaisiensis สายพันธุ์ A034 และ S. galilaeus สายพันธุ์ C004 เมื่อปลูกเชื้อลงในดินที่มีการระบาดพบว่าเชื้อสามารถลดปริมาณกลุ่มไข่และลดการเกิดปมของ M. incognita ในต้นพริกได้มากกว่าร้อยละ 50 โดยประสิทธิภาพจะดีที่สุดเมื่อปลูกเชื้อลงในดินก่อนที่พืชจะถูก M. incognita เข้าทำลาย และเชื้อทั้ง 2 สายพันธุ์ยังช่วยเพิ่มความต้านทานโรค ส่งเสริมการเจริญของพืช และเพิ่มการหมุนเวียนของธาตุอาหารต่าง ๆ ในดิน
สาขาการวิจัย
  • เกษตรศาสตร์

ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง