ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง การสร้างเครือข่ายเพื่อการป้องกันและติดตามการเผาในพื้นที่ต้นแบบ 5 ชุมชนในจังหวัดเชียงราย ด้วยระบบติดตามการเผาผ่านระบบโทรศัพท์อัจฉริยะ
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ดร. นิอร สิริมงคลเลิศกุล
เจ้าของผลงานร่วม ผศ.ดร.วิฑูรย์ พรมมี , นาย ศราวุธ พงษ์ลี้รัตน์
คำสำคัญ หมอก-ควัน (Smoke-haze);จุดเผา (hotspot);ระบบติดตามการเผา (Hotspot monitoring system)
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคงล้านนา
ปีที่เผยแพร่ 2560
คำอธิบาย แบบฟอร์มสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 5 บรรทัด 1. ชื่อ ผลงาน/โครงการ.....(ภาษาไทย) .การสร้างเครือข่ายเพื่อการป้องกันและติดตามการเผาในพื้นที่ต้นแบบ 5 ชุมชน ในจังหวัดเชียงรายด้วยระบบติดตามการเผาผ่านระบบโทรศัพท์อัจฉริยะ 2. ชื่อผลงาน/โครงการ.....(ภาษาอังกฤษ) Open burning protection and monitoring at five villages of Chiang Rai by smart phone 3. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย....(ภาษาไทย)...ดร.นิอร สิริมงคลเลิศกุล .... 4. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย....(ภาษาอังกฤษ)...Dr.Nion Sirimongkonlertkun 5. ที่อยู่ที่ติดต่อไ..เบอร์โทร ................................. ..089-6354086.........nionsiamgis@gmail.com ....อีเมล์ 6. ชื่อหน่วยงาน....มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย ....... 7. ปี พ.ศ. ที่ดำเนินการเสร็จ... 2559 คำค้น Keyword จุดความร้อน โมดีส ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์......... 8. อ้างอิง....(ใส่ URLที่สามารถเข้าถึงเอกสารได้กรณีเผยแพร่ผลงานฉบับเต็มทางอินเตอร์เน็ต ถ้าไม่มีให้เว้นว่างไว้) 9. รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว 10. คำอธิบาย 5บรรทัด (font Tahoma ขนาด 10 แบบ Regular) (สรุปรายละเอียดผลงานวิจัย/โครงการวิจัย มีความยาวไม่เกิน 5 บรรทัด อธิบายด้วยภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ง่าย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานทุกระดับ) . เป็นงานวิจัยที่จัดทำขึ้นจากแนวความคิดที่ต้องการติดตามการเกิดจุดความร้อน“Hotspot” แบบใกล้เวลาจริง ด้วยการดึงฐานข้อมูลจากดาวเทียบในระบบ MODIS ของ NASA มาแสดงผลบนมือถือในระบบแอนดรอยด์ ด้วยการแสดงจุด Hotspotด้วยค่าพิกัดจุด Hotspotพร้อมคำนวณสถิติการเกิด Hotspot รายวันได้ทั้งในระดับอำเภอและตำบล โดยผลผลิตของงานวิจัยนี้ได้เป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างเครือข่ายสำหรับการติดตามการเผาในชุมชนเสี่ยง 5 ชุมชนในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ผลสัมฤทธิ์ของงานนี้ทำให้ทุกภาคส่วนในจังหวัดเชียงรายได้เห็นจุด hotspotไปพร้อมๆกันและเข้าถึงจุดไฟได้อย่างรวดเร็วลดการลุกลามของไฟ ลดพื้นที่เผา ทำให้จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่เผาน้อยที่สุดใน 9จังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย ในปี 2559
สาขาการวิจัย
  • วิศวกรรมและเทคโนโลยี

ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง