ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง การปรับปรุงคุณภาพหินฝุ่นบะซอลต์ด้วยเถ้าปาล์มน้ำมัน ปูนขาวและโซเดียมไฮดรอกไซด์ เพื่อพัฒนาเป็นผนังดินแบบบดอัด
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง นายสนธยา กงกองแก้ว
เจ้าของผลงานร่วม ดร.วันโชค เครือหงษ์
คำสำคัญ หินฝุ่นบะซอลต์ (Crushed Basalt);ชีวมวล (Biomass);เถ้าปาล์มน้ำมัน (Palm Oil Fuel Ash);ปูนขาว (Lime);โซเดียมไฮดรอกไซด์ (Sodium Hydroxide);การปรับปรุงคุณภาพด้วยซีเมนต์ (Cement Stabilization);ผนังดินแบบบดอัด (Rammed Earth Wall)
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย
ปีที่เผยแพร่ 2560
คำอธิบาย Dr. Wunchock Kroehong 5. ที่อยู่ที่ติดต่อได้ 225 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 เบอร์โทร 02-252-7029 อีเมล์ sonthaya_1@hotmail.com 6. ชื่อหน่วยงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย 7. ปี พ.ศ. ที่ดำเนินการเสร็จ 2560 8. คำค้น keyword (ภาษาไทย) เศษหินบะซอลต์, ชีวมวล, เถ้าปาล์มน้ำมัน, การปรับปรุงคุณภาพดิน, ผนังดินแบบบดอัด (ภาษาอังกฤษ) Basalt Residual Soil, Biomass, Oil Palm Ash, Soil Stabilization, Rammed Earth Wall 9. อ้างอิง (ใส่ URL ที่สามารถเข้าถึงเอกสารได้กรณีเผยแพร่ผลงานฉบับเต็มทางอินเตอร์เน็ต ถ้าไม่มีให้ เว้นว่างไว้) 10. รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว รูปที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบค่ากำลังรับแรงอัดแกนเดียวของเศษหินบะซอลต์ปรับปรุงคุณภาพด้วยเถ้าปาล์มน้ำมัน ปูนขาวและโซเดียมไฮดรอกไซด์ ความเข้มข้น 5.0 โมลาร์ ที่อายุบ่ม 28 วัน กับ ค่ามาตรฐาน 15 กก./ซม.2 สำหรับก่อสร้างผนังสูงไม่เกิน 3 เมตร รูปที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบค่ากำลังรับแรงอัดแกนเดียวของเศษหินบะซอลต์ปรับปรุงคุณภาพด้วยเถ้าปาล์มน้ำมัน ปูนขาวและโซเดียมไฮดรอกไซด์ ความเข้มข้น 7.5 โมลาร์ ที่อายุบ่ม 28 วัน กับ ค่ามาตรฐาน 15 กก./ซม.2 สำหรับก่อสร้างผนังสูงไม่เกิน 3 เมตร ผนวก 5 หน้า 7 รูปที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบต้นทุนค่าวัสดุสำหรับก่อสร้างผนังดินแบบบดอัดจากดินลูกรังปรับปรุงคุณภาพด้วยปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 และเถ้าปาล์มน้ำมัน กับ ต้นทุนค่าวัสดุสำหรับก่อสร้างผนังอาคารประเภทอื่นๆ อีก 8 ประเภท 11 คำอธิบาย 5 บรรทัด (font Tohoma ขนาด 10 แบบ Regular) (สรุปรายละเอียดผลงานวิจัย/โครงการวิจัย มีความยาวไม่เกิน 5 บรรทัด อธิบายด้วยภาษาง่าย ๆ เข้าใจได้ง่ายซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานทุกระดับ) เศษหินบะซอลต์ วัสดุเหลือทิ้งจากโรงโม่หิน ถูกนำมาปรับปรุงคุณภาพด้วย เถ้าปาล์มน้ำมัน วัสดุเหลือทิ้ง จากโรงงานผลิตน้ำมันปาล์ม ปูนขาวและโซเดียมไฮดรอกไซด์ เพื่อทำผนังดินแบบบดอัด ซึ่งเป็นแนวทางการทำผนังทางเลือกใหม่ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำมาทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานและคุณสมบัติทางวิศวกรรม ผลการทดสอบ พบว่า เศษหินบะซอลต์ที่ถูกปรับปรุงคุณภาพด้วยเถ้าปาล์มน้ำมัน ปูนขาวและโซเดียมไฮดรอกไซด์ มีกำลังอัดผ่านเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการก่อสร้างผนังดินแบบบดอัดและมีต้นทุนวัสดุที่ถูกกว่าวัสดุตามท้องตลาดที่ใช้สำหรับก่อสร้างผนังอาคาร
สาขาการวิจัย
  • วิศวกรรมและเทคโนโลยี

ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง