ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง |
ความหลากหลายของสาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่รอบเทือกเขาบรรทัด และศักยภาพสำหรับเป็นสาหร่ายกินได้สำหรับคนและสัตว์ |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง |
ผศ.ดร. วรรณิณี จันทร์แก้ว |
เจ้าของผลงานร่วม |
ผศ.ดร.ดวงพร อมรเลิศพิศาล ,
ดร.นริศรา ไล้เลิศ |
คำสำคัญ |
ความหลากหลาย;สาหร่ายสีแดงน้ำจืด;สาหร่ายสีเขียว;เทือกเขาบรรทัด |
หน่วยงาน |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย |
ปีที่เผยแพร่ |
2560 |
คำอธิบาย |
ผนวก 5 หน้า 7
แบบฟอร์มสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 5 บรรทัด
1.โครงการความหลากหลายของสาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่รอบเทือกเขาบรรทัดและศักยภาพสำหรับเป็นสาหร่ายกินได้สำหรับคนและสัตว์
2.Diversity of Stream Freshwater Macroalgae around Banthad Mountain and Potential for Human and Animals
3.หัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.วรรณิณี จันทร์แก้ว (Wanninee Chankaew)
4.1นักวิจัยร่วม : ผศ.ดร.ดวงพร อมรเลิศพิศาล Doungporn Amornlerdpison
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์: มือถือ 091-853-3066
4.2 นักวิจัยร่วม : อาจารย์ ดร.นริศรา ไล้เลิศ(Narissara Lailerd)
ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200
โทรศัพท์ 053-945362-4 โทรสาร 053-945-365
5.ที่อยู่ที่ติดต่อได้ : คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช 109 หมู่ 2 ตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80110 โทร. 075-239-936
6.ชื่อหน่วยงาน: คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
7. ปี พ.ศ. ที่ดำเนินการเสร็จ : 2560
8. คำค้น : สาหร่ายน้ำจืด พิษเฉียบพลัน เขาบรรทัด , Keyword: freshwater algae, acute toxicity, Banthad mountain
9.อ้างอิง -
10.รูปภาพ
Caloglossa ogasawaraensis Okamura Nemalionopsis shawii Skuja
Sirodotia suecica
Kylin Thorea siamensis Kumano & Traichaiyaporn
11. คำอธิบาย 5 บรรทัด (font Tohoma ขนาด 10 แบบ Regular)
การศึกษาความหลากชนิดและประเมินความเป็นพิษเฉียบพลันของสาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่เพื่อศักยภาพสำหรับเป็นสาหร่ายกินได้ ได้ทำการเก็บตัวอย่างในเขตพื้นที่ 5 จังหวัดรอบเทือกเขาบรรทัด ผลการศึกษาพบสาหร่ายน้ำจืดทั้งหมด 26 ชนิด และกลุ่มสาหร่ายสีแดงมีความหลากชนิดมากที่สุดและมีชนิดเด่น 4 ชนิดจึงได้นำมาทดสอบพิษแบบเฉียบพลันจากสารสกัดสาหร่ายทั้งสี่ชนิดโดยอ้างอิงวิธีการของ OECD (2001) ผลการศึกษาสามารถประเมินได้ว่าสาหร่ายสีแดงทั้งสี่ชนิดนี้ปลอดภัยในการนำมาบริโภคซึ่งได้ทราบว่ามีสาหร่ายน้ำจืดกินได้ (edible algae) เพิ่มขึ้น 4 ชนิด
|
สาขาการวิจัย |
|