ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง |
การผลิตพอลีเมอร์ยางพาราคอมโพสิตชนิดใหม่ |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง |
ดร.กิตติศักดิ์ จันทนสกุลวงศ์ |
เจ้าของผลงานร่วม |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิสิฐ ศรีสรุิยจันทร์ ,
รองศาสตราจารย์ ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์ ,
อาจารย์สมชาย วงศ์สรุิยศักดิ์ ,
ผู้ ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชรินทร์ เตชะพันธุ์ |
คำสำคัญ |
carboxymethyl cellulose;natural rubber;thermoplastic elastomer;reactive blending;bioplastic |
หน่วยงาน |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
ปีที่เผยแพร่ |
2560 |
คำอธิบาย |
แบบฟอร์มสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 5 บรรทัด
1. ชื่อผลงาน/โครงการ การผลิตพอลิเมอร์ยางพาราคอมโพสิตชนิดใหม่
2. ชื่อผลงาน/โครงการ Production of a New Rubber Composite Polymer
3. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย กิตติศักดิ์ จันทนสกุลวงศ์
4. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย Kittisak Jantanasakulwong
5. ที่อยู่ที่ติดต่อได้ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 155 หมู่ 2 ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100 .เบอร์โทร.053-948201 อีเมล์ jantanasakulwong.k@gmail.com
6. ชื่อหน่วยงาน คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
7. ปี พ.ศ. ที่ดำเนินการเสร็จ 2560
8. คำค้น Carboxymethyl cellulose, natural rubber, thermoplastic elastomer, reactive blending, bioplastic
9. อ้างอิง (ใส่ URL ที่สามารถเข้าถึงเอกสารได้กรณีเผยแพร่ผลงานฉบับเต็มทางอินเตอร์เน็ต ถ้าไม่มีให้
เว้นว่างไว้)
10. รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว
11 คำอธิบาย 5 บรรทัด (font Tohoma ขนาด 10 แบบ Regular)
(สรุปรายละเอียดผลงานวิจัย/โครงการวิจัย มีความยาวไม่เกิน 5 บรรทัด อธิบายด้วยภาษาง่าย ๆ
เข้าใจได้ง่ายซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานทุกระดับ)
โครงการวิจัยนี้ได้พัฒนาวัสดุพลาสติกชีวภาพจากแป้งมันสำปะหลังผสมยางพาราด้วยการผสมแบบเกิดปฏิกิริยาโดยใช้แป้งมันสำปะหลังเป็นองค์ประกอบหลัก วัสดุดังกล่าวสามารถย่อยสลายได้เหมือนพลาสติกชีวภาพ ยืดหยุ่นได้เหมือนยาง และสามารถขึ้นรูปใหม่ได้เหมือนพลาสติก วัสดุดังกล่าวมีความเหมาะสมในการผลิตเป็นพื้นรองเท้าที่สามารถรับแรงกระแทกได้ สารเติมแต่งที่ใช้สามารถปลดปล่อยออกมาให้เท้านุ่ม และสามารถฆ่าเชื้อราที่เป็นสาเหตุของกลิ่นเท้าเหม็นได้ |
สาขาการวิจัย |
|