- นันท์ภัชอร ภูมิธรรมรัตน์
- 596 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | ฟ้อนปูรณฆฏะเสมา |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ธนวัฒน์ ธรรมมิยะ |
คำสำคัญ | ฟ้อนปูรณฆฏะเสมา;ใบเสมาหินทราย;หม้อปูรณฆฏะ |
หน่วยงาน | มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย |
ปีที่เผยแพร่ | 2561 |
คำอธิบาย | แรงบันดาลใจ จากการศึกษาศิลปกรรมในโบราณสถานคือ เสมาหินทรายบ้านบุ่งผักก้าม ถูกค้นพบที่วัดพัทธสีมาราม บ้านบุ่งผักก้าม ตำบลวังสะพุง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เสมาหินทรายส่วนใหญ่เป็นหินทรายสีแดง บางใบเป็นหินทรายสีขาว มีขนาดใหญ่เล็กปะปนกัน ตรงกลางมีลวดลายรูปสถูปเจดีย์ ประดับอยู่เกือบทุกใบ บางใบสลักเป็นรูปหม้อ "ปูรณฆฏะ" ประกอบกับลายพันธุ์พฤกษา ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์และความเจริญรุ่งเรืองซึ่งเป็นศิลปะสมัยทวทราวดี จากแนวความคิดข้างต้นผู้วิจัยจึงหยิบยกเอาลวดลายรูปสถูปเจดีย์ที่สลักบนใบเสมาหินทราย ซึ่งแบ่งได้เป็นสามส่วนคือ ส่วนฐาน ส่วนกลาง และส่วนยอด จึงนำมาเรียบเรียงสร้างสรรค์ผสมผสานกับท่วงท่าลีลานาฏศิลป์ให้เห็นความสวยงามของลวดลายสถูปบนใบเสมาหินทวาราวดีศรีวังสะพุง |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://www.youtube.com/watch?v=Dqhs3k4L_Dk |
สาขาการวิจัย |
|
ฟ้อนปูรณฆฏะเสมา is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.