- สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.)
- 502 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การศึกษาความสามารถในการดูดซับสาร BTEX ด้วยวัสดุดินเหนียวเผา ในท้องถิ่น |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ณัฎฐณิชา บุญเลิศ |
เจ้าของผลงานร่วม | ณิชชยา เนตรตระกูล , อานัสนันท์ จันทะวงค์ |
คำสำคัญ | การดูดซับสาร BTEX;วัสดุดินเหนียว |
หน่วยงาน | โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย 172 หมู่ 9 ต.บ้านถ้ำ อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา 56120 โทรศัพท์ : 053 174 552-3 |
ปีที่เผยแพร่ | 2561 |
คำอธิบาย | ในอาคารการปนเปื้อนของสารเคมีในอากาศที่เราสูดดมซึ่งมาจากอุปกรณ์ก่อสร้างอาคารและเครื่องใช้สำนักงานต่างๆ โดยมักจะเป็นสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) จำพวกสาร BTEX ซึ่งเมื่อได้รับสารเหล่านี้จากการสูดดมสะสมเป็นระยะเวลานาน จะส่งผลกระทบต่อระบบการทำงานของร่างกาย เนื่องจากวัสดุดินเผาเป็นวัสดุเซรามิกพรุนชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติที่สามารถดูดซับสารด้วยกระบวนการดูดติดผิว จึงต้องการที่ค้นหาคุณสมบัติของดินเหนียวที่ส่งผลต่อความสามารถในการดูดซับสาร BTEX โดยจะเปรียบเทียบดินเหนียวจากแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาแต่ละแหล่งในจังหวัดเชียงราย |
สาขาการวิจัย |
|
การศึกษาความสามารถในการดูดซับสาร BTEX ด้วยวัสดุดินเหนียวเผา ในท้องถิ่น is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.