ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง แหล่งพลังงานใต้พิภพบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย: การบูรณาการสำรวจและการประเมินศักยภาพแหล่งทรัพยากร
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง วิภาดา งานสม
เจ้าของผลงานร่วม Asst. Prof. Dr. Helmut Dürrast
คำสำคัญ พลังงานความร้อนใต้พิภพ;น้ำพุร้อน;ภาคใต้
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปีที่เผยแพร่ 2561
คำอธิบาย บริเวณภาคใต้ของประไทย พบแหล่งน้ำพุร้อนธรรมชาติ มากกว่า 30 แห่ง อุณหภูมิพื้นผิว ระหว่าง 40 ถึง 80°C โดยผลการประเมินศักยภาพเบื้องต้น พบว่า แหล่งน้ำพุร้อนธรรมชาติจำนวน 7 แหล่ง มีอุณหภูมิพื้นผิวตั้งแต่ 60°C และอุณหภูมิของแหล่งกักเก็บตั้งแต่ 100°C ขึ้นไปซึ่งนำไปสู่การศึกษาขั้นรายละเอียดโดยอาศัยคุณสมบัติด้านปัจจัยเชิงบวก ประกอบ ปัจจัยด้านสถานที่ ข้อมูลการศึกษา ศักยภาพของแหล่งกักเก็บพลังงานความร้อนใต้พิภพ และปัจจัยด้านการตลาด พบว่า แหล่งน้ำพุร้อนจังหวัดระนอง (RN1) และแหล่งน้ำพุร้อนจังหวัดพังงา (PG1) มีศักยภาพเพียงพอต่อการส่งเสริมด้านการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในอนาคต
สาขาการวิจัย
  • วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
Creative Commons License


แหล่งพลังงานใต้พิภพบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย: การบูรณาการสำรวจและการประเมินศักยภาพแหล่งทรัพยากร is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.


ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง