- พิทูร อมรวิทวัส
- 700 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมในการจ้างแรงงานเมียนมาร์ในพื้นที่ภาคใต้ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ปรีดา นัคเร |
คำสำคัญ | การสื่อสาร มิติทางวัฒนธรรม;การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม, มิติทางวัฒนธรรม |
หน่วยงาน | คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
ปีที่เผยแพร่ | 2561 |
คำอธิบาย | การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมของนายจ้างไทยและแรงงานเมียนมาร์ วิเคราะห์ผ่านแนวคิดมิติทางวัฒนธรรมของฮอฟสเต็ด (Hofstede) พบความแตกต่างเพียงด้านเดียว คือ ระยะห่างเชิงอำนาจ (Power distance) กล่าวคือ คนเมียนมาร์ที่มาทำงานในเมืองไทยถูกเหมารวมว่าเป็น “ผู้ใช้แรงงาน” นายจ้างไม่ได้นำวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ หรือความชำนาญมาพิจารณาในการกำหนดความแตกต่างของตำแหน่งงาน ทัศนคติทางชาติพันธ์ (ethnocentric) เป็นสิ่งที่ฝังแน่นในการแสดงอัตลักษณ์ของลูกจ้างเมียนมาร์และเป็นปัญหาสำคัญต่อความสามารถปรับตัวในการทำงานในพื้นที่ภาคใต้ |
สาขาการวิจัย |
|
การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมในการจ้างแรงงานเมียนมาร์ในพื้นที่ภาคใต้ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Thailand License.