ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง |
การผลิตอนุภาคนาโนที่มีคุณสมบัติเพิ่มการกระเจิงแสงตามหลักของรามานเพื่อพัฒนาชุดตรวจหายาในกลุ่มเบต้า-2 อะโกนิสท์ซึ่งใช้เป็นสารเร่งเนื้อแดง |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง |
ดร.วีรกัญญา มณีประกรณ์ |
เจ้าของผลงานร่วม |
ดร. สุวัสสา บารุงทรัพย์ ,
ดร. ณัฐปภัสร วิริยะชัยพร ,
ดร. เดือนเพ็ญ จาปรุง ,
นางสาว ชยาชล อภิวาท |
คำสำคัญ |
ชุดตรวจแบบโครมาโตกราฟี;เทคนิคการวัดการกระเจิงของแสงตามหลักของรามาน;สารเร่งเนื้อแดง;อนุภาคนาโนทองรูปดาว;ซัลบูทามอล;คลนบูทารอล;แรคโตพามีน;salbutamol;clenbutarol;ractopamine;beta-agonists;beta-2 adrenergic receptor agonist drugs;lateral flow test;lateral flow immunoassay (LFA);Surface enhanced raman scattering (SERS);SERS based LFA;SERS;LFA;gold nanostar;silica coated gold nanostar;multiplex detection |
หน่วยงาน |
ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ |
ปีที่เผยแพร่ |
2562 |
คำอธิบาย |
งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาอนุภาคนาโนชนิดพิเศษ ซึ่งมีคุณสมบัติในการเพิ่มการกระเจิงแสงตามหลักของรามาน (SERS) และนาอนุภาคดังกล่าวมาพัฒนาต่อยอดเป็นชุดตรวจอย่างง่ายที่มีความไวในการตรวจวัดสูง สาหรับตรวจสารเร่งเนื้อแดง ได้แก่ เคลนบูเทอรอล, ซัลบูทามอล และ แรคโตพามีน ได้ทั้งแบบตรวจแยกกันและแบบพร้อมกัน สามารถบอกผลได้ทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยชุดตรวจที่พัฒนาขึ้นนี้ยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการตรวจหาโมเลกุลเป้าหมายอื่น ๆ ได้อย่างกว้างขวางและหลากหลาย ทั้งในด้านการแพทย์ การเกษตร อาหาร สิ่งแวดล้อม ฯลฯ |
สาขาการวิจัย |
-
วิทยาศาสตร์การแพทย์และสุขภาพ
|