ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การปรับปรุงพันธุ์น้อยหน่าลูกผสมอะติมัวย่า |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | เรืองศักดิ์ กมขุนทด |
คำสำคัญ | ปรับปรุงพันธุ์น้อยหน่า;น้อยหน่าพันธุ์อะติมัวย่า |
หน่วยงาน | สถานีวิจัยปากช่อง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
ปีที่เผยแพร่ | 2558 |
คำอธิบาย | น้อยหน่าเป็นพืชเศรษฐกิจอย่างหนี่งของไทย ที่สามารถปลูกได้ทุกภาคแต่ที่่นิยมปลูกมากคือ ที่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา มี 2 ชนิดคือ น้อยหน่าฝ้ายและน้อยหน่าหนัง ต่อมาในต่างประเทศได้วิจัยน้อยหน่าลูกผสมหรืออะติมัวย่า ขึ้นมา เป็นลูกผสมที่เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างน้อยหน่า ( A. squamosa Linn.) กับ เชริมัวย่า (A. cherimola Mill.) มีชื่อสามัญว่า atemoya (อะติมัวยา) ในปี2546 สถานีวิจัยปากช่องได้พัฒนาพันธุ์ลูกผสมอะติมัวย่า มาเป็นอะติมัวย่าL102 และอะติมัวย่า C31 ทำให้เพิ่มผลผลิตน้อยหน่าตามความต้องการของตลาดและเป็นไม้ผลส่งออกได้ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://www.youtube.com/watch?v=IgH0yX-o4og |
กลุ่มการนำไปใช้ประโยชน์ | ด้านวิชาการ |
สาขาการวิจัย |
|
การปรับปรุงพันธุ์น้อยหน่าลูกผสมอะติมัวย่า is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.