- นุจริน จงรุจา
- 301 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การผลิตพลังงานความร้อนจากก๊าซชีวภาพ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน |
คำสำคัญ | ก๊าซชีวภาพ;พลังงานทดแทน;การบำบัดน้ำเสีย |
หน่วยงาน | กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | การบำบัดน้ำเสียด้วยกระบวนการทางชีวภาพแบ่งออกเป็น ๒ กระบวนการใหญ่ คือ กระบวนการแบบใช้ออกซิเจน และกระบวนการแบบไม่ใช้ออกซิเจน น้ำเสียเหล่านี้เมื่อผ่านกระบวนการบำบัดน้ำเสียด้วยกระบวนการที่ไม่ใช้ออกซิเจน แบคทีเรียในระบบบำบัดจะย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีอยู่ในน้ำเสียทำให้เกิดก๊าซชีวภาพ ซึ่งมีก๊าซมีเทนเป็นองค์ประกอบสำคัญสามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง ทำให้ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของโรงงานลงได้มาก ดังนั้น โรงงานจึงได้เพิ่มระบบบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจนเพื่อทำงานร่วมกับระบบบำบัดน้ำเสียแบบใช้ออกซิเจน ทำให้ได้ก๊าซชีวภาพมาใช้ทดแทนน้ำมันเตาในการผลิตไอน้ำและลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบบำบัดน้ำเสียแบบใช้ออกซิเจนเดิมได้ถึง ๔๐% |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://www2.dede.go.th/bhrd/old/Download/CaseStudy/Case%20Study%20025.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
การผลิตพลังงานความร้อนจากก๊าซชีวภาพ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.