- โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ. สธ.)
- 337 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การศึกษาคุณสมบัติทางชีวภาพร่วมกับคุณสมบัติทางเคมีของดินในพื้นที่ดินเค็มภายหลังมีการปลูกไม้ยืนต้นหลากชนิด 1 ปี |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ธารารัตน์ ตุราช |
เจ้าของผลงานร่วม | ชุลีมาศ บุญไทย อิวาย , บุปผา โตภาคงาม |
คำสำคัญ | พื้นที่ดินเค็ม;สนทะเล;มะขามเทศ;อัตราการย่อยสลายอินทรียวัตถุ;การหายใจของจุลินทรีย์ดิน |
หน่วยงาน | มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | ทำการศึกษาบริเวณพื้นที่อ่างเก็บน้ำเอกกษัตริย์สุนทร อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ในปี พ.ศ. 2552-2553 บนเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ แบ่งพื้นที่ ศึกษาออกเป็น 3 โซน ตามลักษณะสังคมพืชและความลาดเอียงของพื้นที่ โซนที่ 1 คือ Change in chemical properties of soils taken from rhizosphere of Common ironwood and Manila tamarind and soils between the trees. โซนที่ 2 คือ Decomposition rates (%) of Common ironwood and Manila tamarind โซนที่ 3 คือ Soil microbial respiration rate (mg CO2 /day) after various tree species plantation. จากการศึกษาคุณสมบัติดินพบว่าเมื่อทำการปลูกไม้ยืนต้นหลากชนิดบนพื้นที่ดินเค็ม ค่าความเป็นกรด-ด่าง มีค่าที่ลดลง ค่าการนำไฟฟ้า (dS/m) มีค่าที่ลดลงในช่วงแรกและเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ปริมาณอินทรียวัตถุ (%) ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในดิน (%) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน (ppm) และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (ppm) ค่าความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c mol(+)/kg) มีค่าที่เพิ่มขึ้น ค่าปริมาณโซเดียมที่แลกเปลี่ยนได้มีค่าที่ลดลง อัตราการย่อยสลายอินทรียวัตถุระหว่างมะขามเทศและสนทะเล พบว่ามะขามเทศมีอัตราการย่อยสลายที่สูงกว่าสนทะเล และการย่อยสลายในโซนที่ 2 สูงที่สุด รองลงมาคือโซนที่ 3 โซนที่ 1 และ control ตามลำดับ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=58.pdf&id=526&keeptrack=19 |
สาขาการวิจัย |
|
การศึกษาคุณสมบัติทางชีวภาพร่วมกับคุณสมบัติทางเคมีของดินในพื้นที่ดินเค็มภายหลังมีการปลูกไม้ยืนต้นหลากชนิด 1 ปี is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.