- วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- 452 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | แนวทางการพัฒนาตลาดสดสีเขียวรังสิต |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ผศ.ปรีชญะ โรจน์ฤดากร |
เจ้าของผลงานร่วม | ผศ.กัณฐกร อู่อ้น , สุดาลักษณ์ พยัตเทพินทร์ |
คำสำคัญ | ตลาดสด;ตลาดสดสีเขียว;ตลาดสดวิถีไทย;การพัฒนาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม;ทัศนคติชุมชน และผู้ประกอบการ |
หน่วยงาน | คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ |
ปีที่เผยแพร่ | 2558 |
คำอธิบาย | การยกระดับมาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ(Healthy Market)ด้วยการให้ความสำคัญด้านสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์สถาปัตยกรรมสีเขียว(Green architecture) ต้องอาศัยความร่วมมือจากภาครัฐและเอกชนร่วมกันตรวจสอบและผลักดันการผนวกทั้ง 2 เกณฑ์นำสู่การประเมินผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งผู้ประกอบการ ผู้บริโภค ผู้จัดการโดยใช้วิธีวิเคราะห์จากโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและใช้สถิติพรรณนานำเสนอข้อมูล ซึ่งผลวิจัยพบว่าทั้ง 3 กลุ่มมีแนวคิดการพัฒนาที่สำคัญด้านการตลาดสีเขียวคือ ใช้บรรจุภัณฑ์รีไซเคิล ขายเศษอาหารขายสินค้าใช้พลังงานการผลิตน้อยและประชาสัมพันธ์คุณภาพผลิตภัณฑ์สีเขียว ส่วนด้านสถาปัตยกรรมสีเขียว 13 ด้านคือ ช่องทางรับฟัง การจราจร ต้นไม้ภูมิทัศน์ อ่างล้างมือ ฉนวนใต้หลังคา วัสดุทางเดิน ระบายอากาศใต้หลังคา ระเบียบสินค้า ทางลาด คัดแยกขยะ จุดรวมขยะและประดิษฐกรรมใช้ในแผงค้า โดยเกณฑ์อาคารเขียวผนวกกับเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อสามารถใช้ประเมินตลาดสดได้ในอนาคต |
สาขาการวิจัย |
|
แนวทางการพัฒนาตลาดสดสีเขียวรังสิต is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.