ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง |
โครงการศึกษาพฤติกรรมการเกิดดินถล่มเพื่อการป้องกันและสร้างระบบเตือนภัยดินถล่มในพื้นที่ภาคเหนือ: พื้นที่ต้นแบบบ้านดอยช้าง ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย (ระยะที่ 2) |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง |
รองศาสตราจารย์ ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ |
เจ้าของผลงานร่วม |
ดร.สันติ ไทยยืนวงศ์ ,
วรวัชร์ ตอวิวัฒน์ ,
ดำรงค์ ปึ้งสุวรรณ ,
สิริศาสตร์ ยังแสนภู ,
ลักษมี ศรีเจริญ ,
อภิสิทธิ์ บุญโพธื ,
ธีรไนย์ นุ้ยมาก ,
ราเมตร์ สุขเจริญ ,
สมศักดิ์ เลิศประเสริฐพันธ์ ,
ศิริภรณ์ ฟ้าคาตัน ,
ดร.กุลภัทร์ พิสิษฐ์กุล |
คำสำคัญ |
ดินถล่ม, พื้นที่อ่อนไหวต่อดินถล่มพลวัติ, ธรณีพิบัติภัย, ธรณีวิศวกรรม, ตะกอนเชิงเขา, กล่องเตือนภัยประจำบ้าน, การเคลื่อนตัวของมวลดิน, การระบายน้ำ Landslide, Dynamics Landslide Susceptibility, Geohazard, Geotechnical Engineering, Colluvium deposits, House Hold Box, Ground movement, Drainage. |
หน่วยงาน |
ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน |
ปีที่เผยแพร่ |
2562 |
คำอธิบาย |
หมู่บ้านดอยช้าง ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย เป็นพื้นที่ที่มีการเคลื่อนตัวสูง มีความหนาแน่นของชุมชนอย่างมาก สำหรับการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มุ่งเน้นการจัดการด้านพิบัติภัยให้เกิดผลสำเร็จ ซึ่งได้มีการติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดทางวิศวกรรมที่สำคัญร่วมทั้งระบบเตือนภัยประจำบ้านให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ดังนั้นจึงมีความต่อเนื่องของการเฝ้าติดตามผลและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน นอกจากนี้ ยังจะได้การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานร่วมทั้งระบบโครงสร้างทางวิศวกรรมที่เหมาะสมเพื่อการอยู่ร่วมกับพื้นที่เสี่ยงภัยอย่างปลอดภัยอีกด้วย |
สาขาการวิจัย |
|