ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | รูปแบบการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารพื้นถิ่น “ตำเปียงทรงเครื่อง” เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนบ้านเสม็ด ตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | อุทิศ ทาหอม |
เจ้าของผลงานร่วม | สำราญ ธุระตา , ชุลีพร บุ้งทอง , คเนศ วงษา |
คำสำคัญ | การเพิ่มมูลค่า;การพัฒนาผลิตภัณฑ์;อาหารพื้นถิ่น;เศรษฐกิจชุมชน;สานพลังประชารัฐ |
หน่วยงาน | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | การสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนบ้านเสม็ด โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม พบว่า อาหารพื้นถิ่น “ตำเปียงทรงเครื่อง” (หน่อไม้ทรงเครื่อง) มีการผลิตสืบทอดกันมาเป็นระยะเวลานาน จนนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ผ่านการวิเคราะห์องค์ความรู้จากภายในชุมชนและภายนอกชุมชน จนนำไปสู่การสร้างรูปแบบผลิตภัณฑ์อาหารพื้นถิ่น “ตำเปียงทรงเครื่อง” โดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์ การกำหนดราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย และส่งเสริมการขาย ตลอดจนการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานระดับพื้นที่ในการยกระดับและพัฒนผลิตภัณฑ์ เพื่อให้กลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมของจังหวัดบุรีรัมย์ต่อไป |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://ssed.nida.ac.th/images/jsd/Y20_2/3-The%20Model%20for%20Maximizing%20the%20Local%20Food%20Product%20Value.pdf |
สาขาการวิจัย | - |
รูปแบบการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารพื้นถิ่น “ตำเปียงทรงเครื่อง” เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนบ้านเสม็ด ตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.