ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้นกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย : กรณีตัวอย่าง |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ปราโมทย์ บุญตันจีน |
เจ้าของผลงานร่วม | กฤตวิทย์ อัจฉริยะพานิชกุล , กันตพร ช่วงชิด |
คำสำคัญ | ค่าจ้างขั้นต่ำ;วิธีเอนโทรปี;แบบจำลองเชิงเส้น;วิธีกำลังสองน้อยที่สุด |
หน่วยงาน | สาขาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำของจังหวัดกระบี่ ระนอง กรุงเทพ ระยอง และสระบุรี เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาซึ่งเป็นจังหวัดที่ค่าจ้างขั้นต่ำไม่เพียงพอกับค่าใช่จ่ายตามคุณภาพมากที่สุดในปี พ.ศ. 2559 โดยใช้วิธีการประมาณค่าแอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น (Generalized Maximum Entropy Estimators of Linear Model) วิธีนี้มีความยืดหยุ่นกว่าวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Squares) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่ามีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุด มีความแม่นยำมากกว่าวิธีกำลังสองน้อยที่สุด และปัจจัยถูกนำมาพิจารณามากที่สุด คือ ผลิตภาพแรงงานและอัตราว่างงานในจังหวัด รองลงมา คือ อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในจังหวัดและค่าใช้จ่ายตามคุณภาพ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/118000/106072 |
สาขาการวิจัย |
|
การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้นกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย : กรณีตัวอย่าง is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.