ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง การเติบโตและการตอบสนองของไผ่ 3 ชนิด ที่เลี้ยงในสารละลายเกลือโซเดียมคลอไรด์
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง สุภาวดี แสงพิทักษ์
เจ้าของผลงานร่วม ผศ.ดร.นิสา เหล็กสูงเนิน , รศ.ดร.สราวุธ สังข์แก้ว
คำสำคัญ ความเค็ม;ไผ่ป่า;ไผ่รวก;ไผ่ซางนวล
หน่วยงาน คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปีที่เผยแพร่ 2562
คำอธิบาย ผลการวิจัยสรุปว่าไผ่รวกสามารถทนความเค็มได้สูงที่สุด รองลงมาคือไผ่ป่า และไผ่ซางนวล ตามลำดับ ดังนั้นหากต้องการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็ม แนะนำให้ปลูกไผ่รวก ถ้าหากพื้นที่นั้นมีความเค็มของดินไม่เกิน 16 เดซิซีเมนต์ต่อเมตร อีกทั้งไผ่รวกเป็นไผ่ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง นอกจากจะช่วยลดการกระจายของพื้นที่ดินเค็ม และยังเป็นการเพิ่มรายได้ให้แก่เจ้าของพื้นที่อีกด้วย
สาขาการวิจัย
  • เกษตรศาสตร์

ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง