ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | เครื่องประดับอัตลักษณ์จังหวัดกาญจนบุรี ภายใต้แนวคิดการเชื่อมต่อทางประวัติศาสตร์ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | วรชัย รวบรวมเลิศ |
เจ้าของผลงานร่วม | - |
คำสำคัญ | การเชื่อมต่อทางประวัติศาสตร์;การออกแบบเครื่องประดับ;อัตลักษณ์จังหวัดกาญจนบุรี;การทำให้เกิดลูกผสม |
หน่วยงาน | สาขาวิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะอัญมณีมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การออกแบบเครื่องประดับของวิสาหกิจชุมชนกาญจนบุรีสู่รูปแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทั้งการออกแบบและการผลิตที่แสดงออกถึงอัตลักษณ์ของจังหวัดกาญจนบุรี ในแนวทางของเครื่องประดับร่วมสมัยเชิงวัฒนธรรม โดยใช้แนวทาง “การทำให้เกิดลูกผสม” เป็นการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมเดิม (ปัจจัยท้องถิ่น) ผลคือ เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของชุมชนปากแพรก ผสมกับอิทธิพลวัฒนธรรมภายนอก (ปัจจัยภายนอก) โดยการลงพื้นที่สังเกต การสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ พบว่า อัตลักษณ์ใหม่ของเครื่องประดับสำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนกาญจนบุรี ในโครงการวิจัยฯ คือ “การเชื่อมต่อทางประวัติศาสตร์” จากการนำเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของชุมชนเป็นสร้างงานเครื่องประดับต้นแบบคอลเลกชันผู้ชายได้แก่ เรื่องราวประวัติศาสตร์สำหรับเขา และคอลเลกชันผู้หญิงได้แก่ เรื่องราวประวัติศาสตร์สำหรับเธอ เกิดอัตลักษณ์ใหม่ของเครื่องประดับวิสาหกิจชุมชนกาญจนบุรีและนำไปสู่การพัฒนานักออกแบบในชุมชน |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://www.tci-thaijo.org/index.php/archkmitl/article/view/132844/99685 |
สาขาการวิจัย |
|
เครื่องประดับอัตลักษณ์จังหวัดกาญจนบุรี ภายใต้แนวคิดการเชื่อมต่อทางประวัติศาสตร์ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.