- จำเนียร กลิ่นนิ่มนวล มันทนา กลิ่นนิ่มนวล
- 631 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์: อัตลักษณ์ชาติพันธุ์มอญและการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ภควดี ทองชมภูนุช |
เจ้าของผลงานร่วม | พัชรินทร์ ลาภานันท์ |
คำสำคัญ | การท่องเที่ยวชาติพันธุ์;โอกาสทางเศรษฐกิจ;อัตลักษณ์ชาติพันธุ์;มอญ |
หน่วยงาน | ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การศึกษาการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ในชุมชนมอญ โดยวิเคราะห์ภายใต้แนวคิดและข้อถกเถียงเกี่ยวกับการท่องเที่ยวชาติพันธุ์ที่มองการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับมิติเศรษฐกิจและอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ ศึกษาข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและศึกษาภาคสนามที่หมู่บ้านวังกะ จังหวัดกาญจนบุรี ระหว่าง พ.ศ. 2557-2558 พบว่า ชาวมอญวังกะอพยพเข้าสู่ประเทศไทย เมื่อ พ.ศ.2491 ชาวมอญพลัดถิ่นให้ความสำคัญกับการรักษาประเพณีสถาปัตยกรรม และอัตลักษณ์ชาติพันธุ์มอญ ตั้งแต่ พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา ภาครัฐส่งเสริมหมู่บ้านวังกะ ให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางชาติพันธุ์มีจุดเด่นคือวัฒนธรรมมอญ “แบบดั้งเดิม” ซึ่งได้สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจแก่ชาวมอญ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://pdfs.semanticscholar.org/23f1/044a5254cf3d10ede7e6135d04716cc56d97.pdf |
สาขาการวิจัย | - |
การท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์: อัตลักษณ์ชาติพันธุ์มอญและการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.