ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การตีความฉาก “ตลาด” ในฐานะพื้นที่จากนวนิยาย อิงประวัติศาสตร์เรื่องบุพเพสันนิวาส |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | วรุณญา อัจฉริยบดี |
เจ้าของผลงานร่วม | - |
คำสำคัญ | ฉาก;ตลาด;พื้นที่;นวนิยายอิงประวัติศาสตร์ |
หน่วยงาน | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การตีความฉากตลาดในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องบุพเพสันนิวาส ของ รอมแพง โดยใช้แนวคิดเรื่อง “พื้นที่” ในแง่ของพื้นที่การแสดงออกกับการเสนอภาพพื้นที่ พบว่า ฉาก “ตลาด” ไม่ได้เป็นเพียงองค์ประกอบของนวนิยายเท่านั้น แต่ฉาก “ตลาด” เป็นพื้นที่การแสดงออกและเสนอภาพพื้นที่ออกเป็น 4 ลักษณะ ได้แก่ พื้นที่การนำเสนอภาพแทนวิถีชีวิต, การแสดงภาพแทนของผู้หญิงยุคใหม่, การเป็นพื้นที่ที่แสดงความหลากหลายของชาติพันธุ์และวัฒนธรรม และการแสดงถึงความเป็นพื้นที่สาธารณะที่รองรับพื้นที่ส่วนตัว ซึ่งลักษณะต่าง ๆ เหล่านี้แสดงถึงหน้าที่ของพื้นที่ตลาดกับความสัมพันธ์กับเวลา, ความสัมพันธ์เชิงอำนาจของชายหญิง และความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://www.elfhs.ssru.ac.th/warunya_aj/pluginfile.php/19/block_html/content/การตีความฉาก-ตลาด-จากนวนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องบุพเพสันนิวาส.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
การตีความฉาก “ตลาด” ในฐานะพื้นที่จากนวนิยาย อิงประวัติศาสตร์เรื่องบุพเพสันนิวาส is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.