ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง การกำจัดซัลไฟด์และผลิตกรดซัลฟูริคจากซัลไฟด์ในระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียแปรรูปยางพาราเพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตมีเทนและนำกรดซัลฟูริคกลับมาใช้ใหม่ในกระบวนการผลิต
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง วิกาญดา ทองเนื้อแข็ง
เจ้าของผลงานร่วม ผศ.ดร. อุษา อ้นทอง , ดร.นิรมล จันทรชาติ
คำสำคัญ ก๊าซชีวภาพ;ซัลไฟด์;ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์;ก๊าซมีเทน;กรดซัลฟูริค
หน่วยงาน สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
ปีที่เผยแพร่ 2563
คำอธิบาย งานวิจัยนี้ ศึกษาการกำกัด H2S ในก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียยางแผ่นด้วยระบบกรองชีวภาพ จากการเดินระบบภายใต้สภาวะ micro-oxygen พบว่า ที่ 0.15-0.20 mg-O2/L เป็นสภาวะที่เหมาะสมที่สุด สามารถกำจัด H2S ได้ถึง 98% และ สามารถเปลี่ยนซัลไฟด์เป็นซัลเฟตได้มากกว่าตะกอนซัลเฟอร์ และจากการศึกษาประสิทธิภาพของระบบ ภายใต้สภาวะไร้อากาศ และป้อนสารละลายไนเตรตเข้าสู่ชดกรอง พบว่าการเดินระบบด้วยอัตราส่วน S/N 1.0 มีประสิทธิภาพในการกำจัด H2S ได้ 100% และทำให้ซัลไฟด์ในก๊าซชีวภาพถูกออกซิไดซ์ไปเป็นซัลเฟตมากที่สุด
สาขาการวิจัย
  • วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ

ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง