ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง |
การศึกษาปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและสมบัติในการต้านโรค อัลไซเมอร์ของลูกหม่อนหลากสายพันธุ์ จากศูนย์อนุรักษ์พันธุ์หม่อน จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง |
ดร. ปิยะ เต็มวิริยะนุกูล |
เจ้าของผลงานร่วม |
ดร. อุทัยวรรณ สุทธิศันสนีย์ ,
ดร. ดาลัด ศิริวัน ,
บุษรา จงรวยทรัพย์ ,
สมหญิง ทับทิมศรี |
คำสำคัญ |
หม่อน;สารออกทธิ์ทางชีวภาพ;การต้านโรคอัลไซเมอร์;แมลงหวี่;ฐานข้อมูลชีวภาพ;การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน |
หน่วยงาน |
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล |
ปีที่เผยแพร่ |
2563 |
คำอธิบาย |
โครงการนี้เป็นโครงการแรกที่ศึกษาหม่อนจากศูนย์อนุรักษ์พันธุ์หม่อน จังหวัดกาญจนบุรี โดยศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพสำคัญและฤทธิ์ในการต้านโรคอัลไซเมอร์ จากผลการศึกษาพบว่าหม่อนพันธุ์ SKSM 810191, SKSM 14-13-20 และ พันธุ์ส้มมีความเหมาะสมแก่การนำไปพัฒนาเป็นอาหารหรือเครื่องดื่มต้านโรคชราและลดความเครียดในเซลล์เนื่องจากสามารถต้านอนุมูลอิสระได้สูงมาก ส่วนหม่อนพันธุ์เชียงใหม่ คือหม่อนที่ดีที่สุดในการต้านโรคอัลไซเมอร์ เห็นสมควรให้สนับสนุนการปลูกหรือพัฒนาเป็นอาหารฟังก์ชั่น (functional food) ต่อไป |
สาขาการวิจัย |
|