ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง |
การผลิตและและศักยภาพการใช้วานิลเลตจากของเสียการเกษตรเพื่อเป็นสารตั้งต้นของการผลิตพลาสติกชีวภาพ |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง |
ศ.ดร. อลิสา วังใน |
เจ้าของผลงานร่วม |
ผศ.ดร.จิตรตรา เพียภูเขียว ,
ดร.นวพร วินยเวคิน ,
รศ.ดร.ณัฏฐา ทองจุล ,
ดร.สิตานัน ธิติประเสริฐ ,
ผศ.ดร.ธัญญดา รุ่งโรจน์มงคล ,
ผศ.ดร.เทวัญ เริ่มสูงเนิน ,
ดร.ตติยา โชคบุญเปี่ยม |
คำสำคัญ |
กรดวานิลลิก;วิถีชีวเคมีสังเคราะห์;พอลิเอทิลีนวานิลเลต;พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต;การจำลองพลวัตเชิงโมเลกุล;การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง;สมบัติเชิงเชิงกายภาพ |
หน่วยงาน |
ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ปีที่เผยแพร่ |
2563 |
คำอธิบาย |
โครงการวิจัยนี้ใช้ประโยชน์จากอนุพันธ์ลิกนินจากชีวมวลจากวัสดุเกษตรเพื่อผลิตกรดวานิลลิกซึ่งเป็นสารมูลค่าสูงและเป็นสารตั้งต้นในการผลิตพลาสติกชีวภาพด้วยกระบวนการเทคโนโลยีชีวภาพ ประสิทธิภาพการผลิตที่ได้ในสภาวะระดับฟลาสก์ในปัจจุบันได้ร้อยละ 74-95 ขึ้นกับชนิดของอนุพันธ์ลิกนินสารตั้งต้น การศึกษาสมบัติเชิงโครงสร้างและเชิงกายภาพของพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิเอทิลีนวานิเลตและของพอลิเมอร์ผสมระหว่างพลาสติกชีวภาพ PEV กับ PET ใช้เทคนิคการจำลองทางคอมพิวเตอร์ |
สาขาการวิจัย |
|