- วิทยาภรณ์ คงอยู่
- 613 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | ผลของท่อนาโนคาร์บอนแบบผนังหลายชั้น (MWCNT) และผ้าไหมต่อสมบัติการป้องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMI) และสมบัติเชิงกลของวัสดุเชิงประกอบน้ำยางธรรมชาติที่ผ่านการคงรูปด้วยรังสีแกมมา |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | บุษราภรณ์ มูลเหล็ก |
เจ้าของผลงานร่วม | รศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสนบุญเรือง |
คำสำคัญ | การรบกวนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, ท่อนาโนคาร์บอน, ยางธรรมชาติ, ผ้าไหม, สมบัติเชิงกล, สมบัติการนำไฟฟ้า |
หน่วยงาน | เกษตรศาสตร์ ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | งานวิจัยนี้พัฒนาวัสดุป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากวัสดุเชิงประกอบยางธรรมชาติที่ผ่านการคงรูปด้วยรังสีแกมมาด้วยการเพิ่มสารตัวเติม MWCNT ที่ปริมาณ 0, 2, 4 และ 6 phr และแทรกผ้าไหม ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าสารตัวเติม MWCNT และผ้าไหมช่วยปรับปรุงค่าการนำไฟฟ้า และสามารถลดทอนสัญญาณการรบกวน ทำให้มีประสิทธิภาพป้องกันเพิ่มขึ้น และสูงสุดที่ปริมาณสารตัวเติม MWCNT 6 phr (~8 dB หนา 2 mm และ ~19 dB หนา 8 mm ที่ความถี่ 300 MHz) ซึ่งนำไปสู่การพัฒนาที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาวัสดุป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุที่มีความยืดหยุ่นและมีความมั่นคงปลอดภัยเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://app.gs.kku.ac.th/gs/th/publicationfile/item/20th-ngrc-2019/PMO14/PMO14.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
ผลของท่อนาโนคาร์บอนแบบผนังหลายชั้น (MWCNT) และผ้าไหมต่อสมบัติการป้องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMI) และสมบัติเชิงกลของวัสดุเชิงประกอบน้ำยางธรรมชาติที่ผ่านการคงรูปด้วยรังสีแกมมา is licensed under a Creative Commons Attribution-ShareAlike 3.0 Thailand License.