ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การศึกษาความเป็นไปได้ของรูปแบบและวิธีการการจำนำปลาร้าโดยชุมชนมีส่วนร่วม:กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าแม่น้ำโขง อำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | นภาพร หงษ์ภักดี |
คำสำคัญ | การศึกษาความเป็นไปได้;รูปแบบและวิธีการ;การจำนำปลาร้า;การมีส่วนร่วม |
หน่วยงาน | คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การศึกษาความเป็นไปได้ของรูปแบบและวิธีการจำนำปลาร้าโดยชุมชนมีส่วนร่วมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าแม่น้ำโขง บ้านยักษ์คุ หมู่ที่5 ตำบลชานุมาน อำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการจำนำที่มีความเหมาะสมมีวิธีการ 4 ขั้นตอนคือ1). การสำรวจชุมชน 2).การประชุมชี้แจงรูปแบบและวิธีการให้กับสมาชิก 3). การรับจำนำแบ่งเป็น 4 ขั้นตอนคือ การรับลงทะเบียนสมาชิก การตรวจสอบคุณภาพ และจำแนกเกรดของปลาร้าเพื่อกำหนดราคาที่รับจำนำ การจ่ายเงินรับจำนำและการเก็บรักษาไหปลาร้า และ4).การจำหน่าย ซึ่งผลลัพท์จากการทำโครงการรับจำนำปลาร้าทำให้ต้นทุนการผลิตลดลงและมีความสามารถในการทำกำไรมากขึ้น ชุมชนมีความเข้มแข็งและสร้างอาชีพให้คนท้องถิ่นที่มีชีวิตติดริมน้ำโขงได้ภูมิใจและช่วยกันรักษาภูมิปัญญาการถนอมอาหารที่มีความหมายต่อชุมชน เพื่อสร้างความยั่งยืนให้กับวิสาหกิจชุมชนต่อไป |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/epaper/jan_june2017/pdf/ac01.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
การศึกษาความเป็นไปได้ของรูปแบบและวิธีการการจำนำปลาร้าโดยชุมชนมีส่วนร่วม:กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าแม่น้ำโขง อำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.