ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การตรวจจับการบุกรุกด้วยเทคนิคการจำแนกในการทำเหมืองข้อมูล |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ผดุง นันอำไพ |
เจ้าของผลงานร่วม | จารี ทองคำ |
คำสำคัญ | การตรวจจับการบุกรุก;เทคนิคการจำแนกข้อมูล;การทำเหมืองข้อมูล;เทคนิคการจำแนกด้วยกฎ |
หน่วยงาน | คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การศึกษาพัฒนาแบบจำลองที่สามารถและตรวจจับการบุกรุกในระบบเครือข่าย และเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจำแนกรูปแบบการบุกรุกในระบบเครือข่าย ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบจำลองที่ใช้เทคนิค RIPPER มีค่า Precision มากที่สุดคือ 99.00 % และ เทคนิค PART decision l list มีค่า Precision 98.20 % ตามด้วยเทคนิค Decision Taber มีค่า Precsion 97.50 % และเทคนิคที่มีค่าความถูกต้องน้อยที่สุดคือ เทคนิค Naïve Bayes มีค่า Precision 49.40 % และ 2) ผลเปรียบเทียบการวิเคราะห์แบบจำลองการจำแนกการตรวจจับการบุกรุกของแต่ละเทคนิค พบว่าแบบจำลองที่ใช้เทคนิค RIPPER ให้ค่าเฉลี่ยทางสถิติเป็นเปอร์เซ็นต์มากที่สุดจากเทคนิคทั้งหมด 4 เทคนิค |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/itm-journal/article/view/201116/157491 |
สาขาการวิจัย |
|
การตรวจจับการบุกรุกด้วยเทคนิคการจำแนกในการทำเหมืองข้อมูล is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.