ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การเปรียบเทียบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ปลาทุบจากเนื้อปลาเส้นใยสั้นและเนื้อปลาเส้นใยยาว |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ธัญญรัตน์ บุญโสภณ |
เจ้าของผลงานร่วม | - |
คำสำคัญ | ปลาเส้นใยสั้น;ปลาเส้นใยยาว;ผลิตภัณฑ์ปลาทุบ |
หน่วยงาน | คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การคัดเลือกตัวแทนชนิดปลาเส้นใยสั้นและปลาเส้นใยยาว พบปลาที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตัวแทนของปลาเส้นใยสั้นได้แก่ ปลานิล และตัวแทนของปลาเส้นใยยาวที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงได้แก่ ปลาช่อน การผลิตปลาทุบทั้งปลาเส้นใยสั้นและเนื้อปลาเส้นใยยาว ควรอบเนื้อปลาที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส จะได้คุณภาพด้านปริมาณน้ำอิสระตามมาตรฐานกำหนด เมื่อเทียบกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จุลินทรีย์มีปริมาณไม่เกินมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่กำหนด ปริมาณความชื้น โปรตีน ไขมัน เถ้า เส้นใย ร้อยละ 5.64 82.88 1.64 8.96 และ 0.88 ตามลำดับ การวิเคราะห์อันตรายของการผลิตปลาทุบตามระบบ HACCP ดังนี้ อันตรายทางเคมี คือ โลหะหนัก อันตรายทางกายภาพ คือเศษก้างและเศษโลหะ อันตรายทางด้านชีวภาพ ได้แก่ Salmonella, Staphylococcus aureus, Yeast and Mold |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://www.repository.rmutt.ac.th/bitstream/handle/123456789/2669/RMUTT-149742.pdf?sequence=1 |
สาขาการวิจัย |
|
การเปรียบเทียบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ปลาทุบจากเนื้อปลาเส้นใยสั้นและเนื้อปลาเส้นใยยาว is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.