การเสริมใบหม่อน ต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโต ระดับคอเลสเทอรอล ไตรกลีเซอร์ไรด์และคุณภาพซากไก่สามสายเลือด
- กรรณิกา มะสิการะเต
- 600 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การคัดเลือกและใช้แบคทีเรียกรดแลคติกและราเทมเป้หมักวัสดุเศษเหลือจากปลา |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | เกศินี จันทรโสภณ |
เจ้าของผลงานร่วม | วรพล สุรพัฒน์ , เสรี จันทรโสภณ |
คำสำคัญ | วัสดุเศษเหลือจากปลา;ปลาส้ม;แบคทีเรียกรดแลกติก;แป้งเชื้อเทมเป้ |
หน่วยงาน | สาขาวิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การคัดเลือกแบคทีเรียกรดแลกติกจากตัวอย่างปลาส้มและเชื้อราเทมเป้ ตัวอย่างแป้งเชื้อเทมเป้เพื่อใช้เป็นกล้าเชื้อหมักวัสดุเศษเหลือจากปลาแบบปลาส้ม พบว่า การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียกรดแลกติกที่มีฤทธิ์ยังยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus และ Escherichia coli ได้ 3 ไอโซเลตคือ L1, L2 และ P1 จัดจำแนกเชื้อทั้ง 3 ไอโซเลตในระดับจีนัส พบว่า มีสมบัติเป็น Lactobacillus sp., Lactobacillus sp., และ Pediococcus sp. ตามลำดับ คัดเลือกเชื้อราเทมเป้ที่ไม่ผลิตสารพิษอะฟลาทอกซิน จากแป้งเชื้อเทมเป้ เมื่อใช้กล้าเชื้อที่คัดเลือกได้หมักวัสดุเศษเหลือจากปลาแบบปลาส้มพบว่า เชื้อ Rhizopus oligosporus VA1 เป็นกล้าเชื้อที่ทำให้เกิดการย่อยสลายโปรตีนในปลาส้มจากวัสดุเศษเหลือของปลาสูงกว่าการใช้แบคทีเรียกรดแลกติกแบบเชื้อผสมของไอโซเลต L1, L2 และ P1 โดยปลาส้มอบแห้งที่ได้มีค่า pH เป็น 5.30+0.01 ค่าปริมาณความชื้น กรดโปรตีนละลาย โปรตีนทั้งหมด และค่า degree of protein hydrolysis เป็นร้อยละ 5.94+1.19, 1.83+0.08, 8.90+0.01, 17.35+0.23 และ 51.31+0.70 ตามลำดับ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://www.fishtech.mju.ac.th/FishNew1/Journal_FT_Attach/AbstractFile/P91-102-V13-2-Y2562.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
การคัดเลือกและใช้แบคทีเรียกรดแลคติกและราเทมเป้หมักวัสดุเศษเหลือจากปลา is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.