- กิติมา อินทรัมพรรย์
- 613 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมทองถิ่นแบบมีส่วนร่วม: กรณีศึกษา กลุ่มจักสานตะกร้าหวาย อําเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | รสสุคนธ์ แย้มทองคํา |
เจ้าของผลงานร่วม | นพปฎล ขิงทอง , ศศินันท์ ศาสตร์สาระ , มณฑาทิพย์ เดือนสุกแสง |
คำสำคัญ | ผลิตภัณฑ์หัตถกรรม;กลุ่มจักสานตะกร้าหวาย |
หน่วยงาน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | ผักไห่ เป็นชื่อของผักไทยโบราณชนิดหนึ่งมีลักษณะเป็นเถาเลื้อย หรือที่เรียกว่า มะระขี้นก ผู้วิจัยจึงได้แนวความคิดจากใบของมะระขี้นกที่มี ลักษณะเป็นแฉกๆ มีสีเขียวมาปรับรูปแบบ โดยนํามาจักสานให้เป็นลายของตะกร้าหวายเพื่อสร้างความจดจําและเป็นอัตลักษณ์ที่ชัดเจนของอําเภอผักไห่ ซึ่งจากการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ทําให้กลุ่มจักสานตะกร้าหวาย ได้ต่อยอดการจักสานลายของตะกร้าหวายเพิ่มขึ้นเป็นลายต้นหมัน ซึ่งเป็นตราของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่งผลให้กลุ่มจักสานตะกร้าหวายได้รับการคัดเลือกจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเข้าร่วมประกวด Knowledge-Based OTOP : KBO ภายในปีเดียวกัน นอกจากนี้ผู้วิจัยได้พัฒนารูปแบบของบรรจุภัณฑ์ตามความต้องการของกลุ่มจักสานตะกร้าหวาย เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าคัดสรรตามโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ปีพ.ศ. 2557 |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://research.rmutsb.ac.th/fullpaper/2556/2556239509734.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมทองถิ่นแบบมีส่วนร่วม: กรณีศึกษา กลุ่มจักสานตะกร้าหวาย อําเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.