- ชิติพัทธ์ โพธิ์รักษา
- 1436 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | ภาษาไทยพวน-ภาษาและวัฒนธรรม |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | หทัยกาญจน์ สระน้อย |
เจ้าของผลงานร่วม | อรรจน์ สีหะอำไพ , ชญานิศ ศิริ , ปัทมาวดี นิลประดับ , ปรางทอง หงษ์ทอง |
คำสำคัญ | ชาวพวน;ภาษาพวน |
หน่วยงาน | มหาวิทยาลัยรังสิต |
ปีที่เผยแพร่ | 2559 |
คำอธิบาย | ชาวพวนเป็นกลุ่มไทยน้อยซึ่งเป็นไทยกลุ่มหนึ่งในแหลมทอง พวนเป็นแคว้นอิสระไม่รวมกับกลุ่มใดในสิบสองปันนา มีศูนย์กลางที่เชียงขวาง รักสงบ สันติ วัฒนธรรมสื่อความร่วมแรงร่วมใจกัน ก่อให้เกิดความสามัคคีในชนบท ภาษาพวนมีการเปลี่ยนแปลง มีเอกลักษณ์ของตนเอง ภาษาพวนไม่สามารถถ่ายออกเป็นอักขระของภาษาได้ทั้งหมด จะใช้พยัญชนะและสระผันเสียงอย่างไรก็ไม่อาจทำได้ คำบางคำต้องเรียนรู้จากการพูดและการฟังจากชาวพวนจึงเป็นเอกลักษณ์เด่นของภาษาพวน จากการสัมภาษณ์ชาวพวน อ.ปากพลี ตัวอย่างคำ เช่น ไปกาเลอคือไปไหนมา, เอ็ดพีเลอคือทำอะไร, ปลาแดะคือปลาร้า, เจียวคือน้ำพริกปลาร้า, เสื้อยข้าวคือคลุกข้าว, แกงจานคือแกงหน่อไม้ส้ม, หม่าโอ่ยคือฝรั่ง เป็นต้น |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://www.youtube.com/watch?v=LgBQ6qCWNRY |
สาขาการวิจัย |
|
ภาษาไทยพวน-ภาษาและวัฒนธรรม is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.