- อาจารย์วีระ ภาคอุทัย
- 719 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการเกษตรและอาหาร |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | นางสาวจิราพัชร จันทรโชติ |
เจ้าของผลงานร่วม | นางสาวนุจรีย์ มิ่งขวัญ , นางสาวธิดารัตน์ ฉัตรชัยอนันต์ , นางสาวธิดารัตน์ แซ่เล้า , นายธีรวิชญื ชัยธรรม , นางสาวปริญาพรรณ พุทธเมฆ , นายปาณัท คลีนจันทร์หอม |
คำสำคัญ | การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ;การเกษตรและอาหาร |
หน่วยงาน | สาขาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม วิทยาลัยการบริการและการจัดการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |
ปีที่เผยแพร่ | 2560 |
คำอธิบาย | เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทมากในสังคมทางด้านการส่งเสริมการเกษตร เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านเกษตรกรรมเช่นการเก็บข้อมูลการพยากรณ์ผลผลิตด้านการเกษตร ด้านปุ๋ยและอาหารสัตว์ การผสมพันธุ์พืชและสัตว์อีกทั้งยังมีแบบการซักถามข้อมูลที่สามารถตอบโต้กันได้ทันทีผ่านการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งส่งผลให้การส่งเสริมการเกษตรวิธีนี้เป็นการสื่อสารสองทางอย่างไรก็ตามเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นถือเป็นเพียงเทคโนโลยีที่เข้ามาสนันสนุนการดำเนินงานให้เกิดความสะดวกสบายรวดเร็วขึ้นการใช้เทคโนโลยีนั้นต้องควบคู่กับวิทยาการที่เหมาะสมได้เช่นกัน โปรแกรมStellaเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการจำลองระบบเกษตรที่ประกอบด้วยการปลูกข้าวเลี้ยงสัตว์ แอปผสมปุ๋ย fertilizer Mixer เป็นแอปที่ผสมปุ๋ย สูตรที่ผสมปุ๋ย เพื่อเกษตรกรไทยที่สามารถคำนวณสัดส่วนของปุ๋ยตามสูตร โปรแกรมสมาร์ทฟาร์มเป็นโปรแกรมบริหารเกษตรไฮเทค สามารถกำหนดให้วัคซีนปุ๋ย การเจ็บป่วยตายและสามารถพิมพ์ใบสำคัญต่างๆได้ โปรกรมAg Zone 3.0 สามารถแก้ไขเลือกการปลูกพืชเศรษฐกิจ โปรแกรมคลีนิกเกษตรเป็นระบบที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลให้แก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการคลินิกเกษตร เครื่องเช็คผลไม้สุกด้วยเซ็นเซอร์ ช่วยลดความเสียหายขณะเก็บเกี่ยว มีความแม่นยำแต่ต้องมีงบลงทุน มีความรู้พื้นฐานทางเทคโนโลยี Parrot Flower power เป็นเครื่องตรวจเช็คสภาพต้นไม้การทำงาน เอาเครื่องมือนี้ไปเสียบกับต้นแล้วเรียกดูข้อมูลผ่านแอปพลิเคชั่น Flower power |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://www.youtube.com/watch?v=fPT4Nv3xank |
สาขาการวิจัย | - |
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการเกษตรและอาหาร is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.