ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การถ่ายทอดเทคโนโลยี “ลานสกาโมเดล” โมเดลระบบเฝ้าระวังดัชนีลูกน้ำยุงลายเพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนจากระดับครัวเรือนถึงอำเภอ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | รองศาสตราจารย์ ดร.จรวย สุวรรณบำรุง |
เจ้าของผลงานร่วม | นางสาวจันทร์จุรีย์ ถือทอง , สุภาพร ทองจันทร์ , นายคณพศ ทองขาว , นายประยุทธ สีตุกา , นายอนุสรณ์ ศรีวารินทร์ |
คำสำคัญ | ไชยาโมเดล;ไข้เลือดออก;ระบบเฝ้าระวัง;ดัชนีลูกน้ำยุงลาย;เครือข่าย |
หน่วยงาน | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
ปีที่เผยแพร่ | 2560 |
คำอธิบาย | ต้นแบบ ลานสกาโมเดล ซึ่งเป็นโมเดลระบบเฝ้าระวังดัชนีลูกน้ำยุงลายเพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนจากระดับครัวเรือนถึงอำเภอ ดำเนินการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีร่วมกับการปฏิบัติการจริงตั้งแต่เดือนเมษายน ถึง ธันวาคม 2559 โดยเน้น 1) การพัฒนางานวิจัยเชิงพื้นที่ 2) ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของพื้นที่ที่มีการสนับสนุนงบประมาณร่วม 3) กำหนดเจ้าภาพดำเนินการในรูปแบบของเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอ 4) บูรณาการกับการปฏิบัติงานประจำเชิงพื้นที่ และ 5) การติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยได้ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอไชยาซึ่งเป็นหนึ่งใน 19 อำเภอของจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีพื้นที่ 9 ตำบล ประชากรทั้งหมดประมาณ 50,362 คน มีรูปแบบของการระบาดของโรคไข้เลือดออกแบบปีเว้น 2 ปี และปีเว้นปี |
สาขาการวิจัย |
|
การถ่ายทอดเทคโนโลยี “ลานสกาโมเดล” โมเดลระบบเฝ้าระวังดัชนีลูกน้ำยุงลายเพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนจากระดับครัวเรือนถึงอำเภอ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.