ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง การวิจัยและพัฒนาเพื่อเสริมกาลังอาคารเรียนต้นแบบเพื่อต้านทานแผ่นดินไหว โดยการใช้ตะแกรงเหล็กฉีก และการถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชน กรณีตัวอย่างอาคารเรียนในพื้นที่ อ.พาน จ.เชียงราย
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง รองศาสตราจารย์ ดร. ไพบูลย์ ปัญญาคะโป
เจ้าของผลงานร่วม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อาณัติ เรืองรัศมี
คำสำคัญ แผ่นดินไหว;การเสริมกำลังอาคาร;ตะแกรงเหล็กฉีก
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ปีที่เผยแพร่ 2560
คำอธิบาย แบบฟอร์มสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 5 บรรทัด แบบฟอร์มสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 1 หน้ากระดาษ A4 1. ชื่อผลงาน/โครงการ. การวิจัยและพัฒนาเพื่อเสริมกำลังอาคารเรียนต้นแบบเพื่อต้านทานแผ่นดินไหวโดยการใช้ตะแกรง เหล็กฉีกและการถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชน กรณีตัวอย่างอาคารเรียนในพื้นที่ อ.พาน จ.เชียงราย 2. ชื่อผลงาน/โครงการ Research and Development for Strengthening of a Prototype School Building for Earthquake Resistant using Expanded Metal and Technology Transferring to a Case Study for School Building in Phan District Chiangrai Community Area 3. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร. ไพบูลย์ ปัญญาคะโป 4. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย Associate Professor Dr. Phaiboon Panyakapo 5. ที่อยู่ที่ติดต่อได้ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2410/2 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กทม.10900 โทรศัพท์ 02-5791111 ต่อ 2171 โทรสาร 02-5791111 ต่อ 2147 E-mail: phaiboon.pa@spu.ac.th 6. ชื่อหน่วยงาน.....มหาวิทยาลัยศรีปทุม........................ 7. ปี พ.ศ. ที่ดำเนินการเสร็จ. 2560 .... 8. คำค้น keyword…แผ่นดินไหว การเสริมกำลังอาคาร ตะแกรงเหล็กฉีก …… 9. อ้างอิง (ใส่ URL ที่สามารถเข้าถึงเอกสารได้กรณีเผยแพร่ผลงานฉบับเต็มทางอินเตอร์เน็ต ถ้าไม่มีให้เว้นว่างไว้) - 10. รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว (สามารถแยกไฟล์ หรือใส่รวมไว้ในเนื้อหาได้) 11 คำอธิบาย 5 บรรทัด (font Tohoma ขนาด 10 แบบ Regular) (สรุปรายละเอียดผลงานวิจัย/โครงการวิจัย มีความยาวไม่เกิน 5 บรรทัด อธิบายด้วยภาษาง่าย ๆ เข้าใจได้ง่ายซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานทุกระดับ) โครงการวิจัยนี้ มีการทดสอบการกำลังของผนังก่ออิฐเสริมกำลังด้วยตะแกรงเหล็กฉีกขนาดต่างๆ เพื่อนำคุณสมบัติของวัสดุมาใช้ในการประเมินกำลังของผนังอิฐก่อ และการหาขนาดตะแกรงเหล็กฉีกที่เหมาะสมในการเสริมกำลังผนังก่ออิฐ งานวิจัยนี้เลือกเทคนิคเสริมกำลังเสา-คานด้วยตะแกรงเหล็กเฟอร์โรซีเมนต์ และเทคนิคการประกอบหุ้มเสา-คานเชื่อมด้วยตะแกรงเหล็กฉีก และเสริมกำลังผนังก่ออิฐด้วยตะแกรงเหล็กฉีก และมีการทดสอบโครงอาคารร่วมกับผนังก่ออิฐเสริมกำลังโดยใช้แบบจำลองขนาดเท่าของจริง เพื่อทดสอบกำลังต้านทานแรงกระทำด้านข้างแบบวัฏจักร
สาขาการวิจัย
  • วิศวกรรมและเทคโนโลยี

ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง