ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง ศักยภาพการใช้ Bacillus subtilis ร่วมกับเปลือกหอยแครงและ Bacillus subtilis ร่วมกับปูนขาวเพื่อลดการสะสมของแคดเมียมในข้าวที่ปลูกในดินที่ ปนเปื้อนแคดเมียม
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ผศ.ดร. ปารินดา สุขสบาย
เจ้าของผลงานร่วม ผศ.ดร. ไพทิพย์ ธีรเวชญาณ
คำสำคัญ แคดเมียม (cadmium);ข้าว (rice);บาซิลัส ซับทีลิส(Bacillus subtilis);) เปลือกหอยแครง (cockle shell);ปูนขาว (lime)
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
ปีที่เผยแพร่ 2560
คำอธิบาย แบบฟอร์มสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 5 บรรทัด 1. ชื่อผลงาน/โครงการ :ศักยภาพการใช้ Bacillus subtilis ร่วมกับเปลือกหอยแครงและ Bacillus subtilis ร่วมกับปูนขาวเพื่อลดการสะสมของแคดเมียมในข้าวที่ปลูกในดินที่ ปนเปื้อนแคดเมียม 2. ชื่อผลงาน/โครงการ : Potential of Bacillus subtilis mixed with cockle shell and Bacillus subtilis mixed with lime for reducing cadmium accumulation in rice plants grown in cadmium contaminated soil 3. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย : ผศ. ดร. ปารินดา สุขสบาย 4. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย : Asst.Prof. Dr. Parinda Suksabye 5. ที่อยู่ที่ติดต่อได้: หลักสูตรสิ่งแวดล้อมเมืองและอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 295 ถนนราชสีมา ดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 02-4239445, 0863979680 โทรสาร 02-4239419 E-mail: parin_bung@yahoo.com 6. ชื่อหน่วยงาน.: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 7. ปี พ.ศ. ที่ดำเนินการเสร็จ : 2560 8. คำค้น keyword :แคดเมียม, ต้นข้าว, บาซิลัส ซับทีลิส, ปูนขาว, เปลือกหอยแครง 9. อ้างอิง (ใส่ URL ที่สามารถเข้าถึงเอกสารได้กรณีเผยแพร่ผลงานฉบับเต็มทางอินเตอร์เน็ต ถ้าไม่มีให้เว้นว่างไว้) : - 10. รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ 1 การปลูกข้าวในดินที่ปนเปื้อนแคดเมียม 11. คำอธิบาย 5 บรรทัด (font Tohoma ขนาด 10 แบบ Regular) (สรุปรายละเอียดผลงานวิจัย/โครงการวิจัย มีความยาวไม่เกิน 5 บรรทัด อธิบายด้วยภาษาง่าย ๆ เข้าใจได้ง่ายซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานทุกระดับ) การใช้ Bacillus subtilis ร่วมกับ ปูนขาวในการเติมลงไปในดินที่ปนเปื้อนแคดเมียมในการปลูกข้าว มีศักยภาพที่สามารถลดแคดเมียมที่สะสมในเมล็ดข้าวได้สูงกว่าการใช้ Bacillus subtilis ร่วมกับ เปลือกหอยแครง โดย การใช้ Bacillus subtilis 5 % (v/w)+ปูนขาว 1% (w/w) และ Bacillus subtilis 3 % (v/w)+ปูนขาว 1% (w/w) สามารถลดการสะสมของแคดเมียมในเมล็ดข้าวให้มีปริมาณแคดเมียมที่สะสมในเมล็ดเหลือเพียง 0.13±0.01 และ 0.18±0.01 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามลำดับ ซึ่งจัดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของการสะสมแคดเมียมในเมล็ดข้าวตามมาตรฐานของ Codex Committee on Food Additives and Contaminant (CCFAC) ที่กำหนดให้ปริมาณแคดเมียมในเมล็ดข้าวไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
สาขาการวิจัย
  • เกษตรศาสตร์

ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง