ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง |
การสร้างเสริมพลังชุมชนเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลาย ทางชีวภาพในพื้นที่ป่าดอนปู่ตาของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคอีสาน |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง |
ดร. สมบัติ อัปมระกา |
เจ้าของผลงานร่วม |
นายวีระ ทองเนตร ,
นายธานี พันแสง ,
นายปัญญา บุตะกะ ,
ผศ.ดร. อดิศักดิ์ สิงห์สีโว ,
นายถวิล ชนะบุญ ,
ผศ.ดร.ธวัดชัย ธานี ,
ผศ.ดร.สมศักดิ์ นวลแก้ว ,
นายปฐมพงษ์ อัปมระกา ,
นายวราวุฒิ ภูสำเภา |
คำสำคัญ |
ป่าดอนปู่ตา (The Sacred Forest, Don Pu Ta);การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน (sustainability utilization);การจัดการในการอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพ (bio-resource conservation management);กลุ่มชาติพันธุ์ภาคอีสาน (Ethnic groups Northeast of Thailand);พลังชุมชน (community empowerment);พืชและสัตว์ท้องถิ่น (plants and locality animals);การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ (economics assessmentvaluation);การเพิ่มมูลค่า (value-added);การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ (utilization of biodiversity);เศรษฐกิจชุมชน (economic community);ฐานทรัพยากร (natural resource –base);ดีเอ็นเอบาร์โค้ด (DNA barcodes) |
หน่วยงาน |
สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
ปีที่เผยแพร่ |
2560 |
คำอธิบาย |
ผนวก 5 หน้า 7
แบบฟอร์มสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 5 บรรทัด
1. ชื่อผลงาน/ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรในเชิงเศรษฐกิจจากฐาน
ชีวภาพในชุมชน
2. ชื่อผลงาน/ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) The improvement of medicinal plants for utilization
economic purpose by using biological resources in the community
3. ชื่อ-นามสกุล นักวิจัย (ภาษาไทย) ดร.สมบัติ อัปมระกา
ผศ.ดร.ธวัดชัย ธานี
ผศ.ดร.สมศักดิ์ นวลแก้
นายวราวุฒิ ภูสำเภา
นายปฐมพงษ์ อัปมระกา
4. ชื่อ-นามสกุล นักวิจัย (ภาษาอังกฤษ) Sombat Appamaraka, Ph.D.,
Assist,Prof.,Dr.Tawatchai Tanee,
Assist,Prof.,Dr.Somsak Nualkaew,
Mr.Warawut Phusampao,
Mr.Pathompong Appamaraka
5. ที่อยู่ที่ติดต่อได้ สถาบันวิจัยวิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชั้น 2 อาคารวิจัยและปฏิบัติการ ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
โทรศัพท์มือถือ 098-1055105 อีเมล์ : sombat_amp@yahoo.co.th
6. ชื่อหน่วยงาน สถาบันวิจัยวิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
7. ปี พ.ศ. ที่ดำเนินการเสร็จ พ.ศ. 2559
8. คำค้น keyword : กลุ่มชาติพันธุ์ภาคอีสาน (Ethnic groups Northeast of Thailand)
ป่าดอนปู่ตา (The sacred forest : Don Pu Ta)ฐานทรัพยากร (natural resource –base)
พืชสมุนไพร (medicinal plants) ดีเอ็นเอบาร์โค้ด (DNA barcodes)
การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ (utilization of biodiversity)
9. อ้างอิง -
10. รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว (สามารถแยกไฟล์ หรือใส่รวมไว้ในเนื้อหาได้)
ตัวอย่างดีเอ็นเอของสมุนไพร ตัวอย่างข้อมูลใน GenBank การทดสอบสารกลุ่มเทอร์ปีนอยด์
11. คำอธิบาย 5 บรรทัด (font Tohoma ขนาด 10 แบบ Regular)
(สรุปรายละเอียดผลงานวิจัย/โครงการวิจัย มีความยาวไม่เกิน 5 บรรทัด อธิบายด้วยภาษาง่าย ๆ
เข้าใจได้ง่ายซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานทุกระดับ)
การใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรในป่าดอนปู่ตาของกลุ่มชาติพันธุ์กะเลิง โญ้ญ ผู้ไท และไทยลาวในภาคอีสาน โดยการสัมภาษณ์หมอยาพื้และวางแปลงสำรวจ พบว่า ชาติพันธุ์โญ้ญ ใช้สมุนไพรมารักษารักษาอาการโรคมากที่สุด (47 อาการ) รองลงมาคือ กะเลิง (29 อาการ) ไทยลาว (26 อาการ) และผู้ไท (20 อาการ) ตามลำดับเอ็นเอ คุณภาพและปริมาณดีเอ็นเอที่สกัดได้จากพืชสมุนไพรมีคุณภาพดีมีปริมาณมากและเก็บไว้ในฐานข้อมูล Gen Bankกลุ่มสารเคมีที่พบในสมุนไพร คือ แอลคาลอยด์ ฟลาโวนอยด์ เทอร์ปีนอยด์ น้ำมันหอมระเหย และสารซาโปนิน
|
สาขาการวิจัย |
|