- แผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรม สร้างเสริมสุขภาพ
- 466 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมในการรับมือกับเหตุแผ่นดินไหวของจังหวัดเชียงรายในปี 2557 |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ศิรินันต์ สุวรรณโมลี |
เจ้าของผลงานร่วม | ไม่มี |
คำสำคัญ | ภัยพิบัติ;แผ่นดินไหว;เชียงราย |
หน่วยงาน | Kmutt |
ปีที่เผยแพร่ | 2561 |
คำอธิบาย | เหตุการณ์แผ่นดินไหวของจังหวัดเชียงรายในปี 2557 ชี้ให้เห็นว่า ตัวแสดงทั้งภาครัฐ ภาคประชาชนและภาคประชาสังคมที่มีส่วนร่วมในการจัดการภัย มีการทำงานร่วมกันโดยมี Topology ของเครือข่ายมีลักษณะผสมระหว่างดาว (star) กับต้นไม้ (tree) ความสัมพันธ์ส่วนใหญ่รวมศูนย์อยู่กับส่วนบัญชาการกลาง ในภาวะฉุกเฉินหน่วยงานระดับจังหวัดสามารถปฏิบัติงานได้ค่อนข้างพร้อมและเป็นเอกภาพ เพราะจังหวัดเชียงรายมีแผนปฏิบัติการรับมือแผ่นดินไหวที่ระบุบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆในระยะฉุกเฉินไว้ชัดเจนและเคยซ้อมไว้ก่อนเกิดภัยแล้ว แต่การฟื้นฟูในระยะถัดมากลับพบข้อจำกัด เนื่องจากการบริหารแบบรวมศูนย์กลาง ทำให้การส่งต่อข้อมูลมีหลายขั้นการฟื้นฟูจึงทำได้ล่าช้า ขณะที่การขาดระบบสารสนเทศสำหรับเชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่างหน่วยงานเข้าด้วยกัน ก็ทำให้ข้อมูลแต่ละหน่วยเก็บมาไม่ถูกใช้ร่วมกัน การแลกเปลี่ยนข้อมูลและแบ่งปันทรัพยากรก็เกิดขึ้นไม่เต็มที่ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://www.tci-thaijo.org/index.php/socialresearchjournal/article/view/82683 |
สาขาการวิจัย |
|
การวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมในการรับมือกับเหตุแผ่นดินไหวของจังหวัดเชียงรายในปี 2557 is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 3.0 Thailand License.