ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | นวัตกรรมคานไม้ไผ่ยักษ์ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | น.ส ชลีพรณ์ ธรรมพรรัมย์ |
คำสำคัญ | คานไม้ไผ่ยักษ์,ไม้ไผ่ยัักษ์,คุณสมบัติเชิงกลคานไม้ไผ่ยักษ์,คุณสมบัติเชิงกลไม้ไผ่ยักษ์, |
หน่วยงาน | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โทร 081-8223622 |
ปีที่เผยแพร่ | 2561 |
คำอธิบาย | การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของคานไม้ไผ่ยักษ์ที่ได้รับการออกแบบพบว่าคานไม้ไผ่ยักษ์ที่ได้รับการออกแบบมีค่าผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมประมาณ .01030- 0.165 ผลทดสอบแรงดัดของคานนมาตรฐานค่าเฉลี่ยของคานไม้ไผ่ที่เคลือบด้วยอีพ็อกซี่เรซิ่น มีผลการการคำนวณ ค่าหน่วยแรงที่ผิวนอกของไม้ไผ่ ณ. ขีดปฎิภาค 497.89 kgf⁄cm^2 ค่าโมดูลัสแตกร้าว 731.42 kgf⁄cm^2 , ค่าโมดูลัสยืดหยุ่น (Modulus of Elasticity) 270140.87 kgf⁄cm^2 คานไม้ไผ่ที่ไม่ได้เคลือบด้วยอีพ็อกซี่เรซิ่นผลการทดสอบและคำนวณ ได้ค่าเฉลี่ยดังต่อไปนี้ ค่าหน่วยแรงที่ผิวนอกของไม้ไผ่ ณ. ขีดปฎิภาค (bending stress at proportional limit) 470kgf⁄cm^2 , ค่าโมดูลัสแตกร้าว (modulus of rupture) 565.20 kgf⁄cm^2 , ค่าโมดูลัสยืดหยุ่น (modulus of elasticity) 159457.74 kgf⁄cm^2 จากผลการทดสอบพบว่าคานไม้ไผ่ยักษ์ ขนาดมาตรฐานจัดอยู่ในไม้ประเภทไม้ไม้เนื้อแข็ง และ แข็งมาก การนำเอาคานไม้ไผ่ที่ได้รับการออกแบบในขนาดหน้าตัดต่างๆมาใช้งานตามมาตรฐานควบคุมอาคาร ผลการทดสอบพบว่าคานไม้ไผ่ยักษ์ที่ได้รับการออกแบบสามารถนำมาใช้ในงานก่อสร้างได้ทุกประเภท ตามน้ำหนักบรรทุกจร 10 ประเภท 30-800 kg⁄m^2 |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://megabamtech1212.com/journal/ |
สาขาการวิจัย |
|
นวัตกรรมคานไม้ไผ่ยักษ์ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.