- ฐิติพงศ์ อินทรปาลิต
- 1161 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | ผ้าพื้นเมืองไทพวน: ลวดลายและเส้นสายอารยะธรรม บ้านเชียง จากอดีตสู่ปัจจุบัน |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ธำรงชาติ วงศ์อารีย์ |
เจ้าของผลงานร่วม | ไวพจน์ ดวงจันทร์ , ภูมิพัฒน์ ชมพูวิเศษ , ภาณุมาศ พุฒเเก้ว |
คำสำคัญ | ไทพวน;ผ้าพื้นเมืองไทยพวน |
หน่วยงาน | สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชั่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยสันตพล จ.อุดรธานี |
ปีที่เผยแพร่ | 2561 |
คำอธิบาย | ศึกษาแนวคิดและกระบวนการออกแบบลวดลายผ้าพื้นเมืองไทพวน ตำบลบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ระยะ คือระยะที่1 แนวคิดและกระบวนการออกแบบลวดลายผ้า โดยตัวแปรที่ศึกษา คือ หลักและวิธีการคิดออกแบบลวดลายในลักษณะต่างๆ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้ให้ข้อมูลหลัก ระยะที่ 2 พัฒนากิจกรรมการเรียรู้เชิงบูรณาการกับการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย การฝึกอบรมให้ความรู้ การประชุมปฎิบัติการและสนทนากลุ่ม จากประชากรกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าชุมชนไทพวน แนวคิดการออกแบบลวดลายผ้าพื้นเมืองไทพวนได้มาจากลวดลายบนไหที่ติดอยู่กับวัตถุโบราณที่ขุดค้นพบ โดยผสมผสานกับลวดลายพื้นบ้าน เช่น ลายกระจับ ซึ่งโดดเด่นและมีความแตกต่างจากท้องถิ่นอื่นคือ ลวดลายที่เน้นเป้นเอกลักษณ์ของไทพวน และการสืบทอดรุ่นสู่รุ่นจนเกิดเป็นความชำนาญและสามารถสร้างงาน หัดทำและเรียนรู้จนเกิดเป็นความเชี่ยวชาญ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://j-com-dev-and-life-qua.oop.cmu.ac.th/uploads/article/181/106/8.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
ผ้าพื้นเมืองไทพวน: ลวดลายและเส้นสายอารยะธรรม บ้านเชียง จากอดีตสู่ปัจจุบัน is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.